แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การวัดแรงดันตาด้วยมาตรอัตโนมัติแบบไม่สัมผัสตา เปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐาน

dc.contributor.authorปิ่นอภัย บุญศรีโรจน์en_US
dc.contributor.authorPinapai Boonsriroteen_US
dc.coverage.spatialกาญจนบุรีen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:40:16Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:22Z
dc.date.available2008-10-01T10:40:16Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:22Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 4) : 947-951en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/262en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิเคราะห์แบบตัดขวาง เพื่อเปรียบเทียบค่าแรงดันตาที่วัดจากมาตรแรงดันตาแบบไม่สัมผัสตาเทียบกับวิธีมาตรฐาน ในกลุ่มผู้ป่วยต้อหินและไม่ใช่ต้อหิน ตัวอย่างศึกษา ได้แก่ ผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลท่าม่วง ในช่วงเดือนธันวาคม 2550 - มกราคม 2554 จำนวน 148 ราย เป็นผู้ป่วยต้อหิน 48 ราย และกลุ่มไม่ใช่ต้อหิน 100 ราย ผู้ป่วยทุกรายไม่เคยรับการผ่าตัดทางจักษุและไม่มีโรคกระจกตา ทำการวัดแรงดันตาด้วยมาตรแรงดันตาแบบไม่สัมผัสตาก่อน แล้วตามด้วยการวัดวิธีมาตรฐาน วัดในช่วงเวลาใกล้เคียงกันโดยผู้ทำการวัดคนละคนเฉพาะเครื่อง เปรียบเทียบแรงดันตาที่วัดทั้ง 2 วิธีใช้สถิติการทดสอบทีจับคู่พบความแตกต่างสำคัญโดยนัยสถิติ (ค่าพี < 0.05) ทั้ง 2 กลุ่ม ในกลุ่มต้อหิน ค่าที่ได้จากการวัดด้วยมาตรแรงดันตาแบบไม่สัมผัสตาต่ำกว่าการวัดด้วยวิธีมาตรฐาน: ค่าเฉลี่ยตาขวา 5.63 ± 3.14 มม.ปรอท ตาซ้าย 4.33 ± 3.50 มม.ปรอท ในกลุ่มไม่ใช่ต้อหินการวัดด้วยมาตรแรงดันตาแบบไม่สัมผัสตาได้ค่าต่ำกว่าการวัดวิธีมาตรฐาน: ค่าเฉลี่ยตาขวา 1.95 ± 2.89 มม.ปรอท ตาซ้าย 2.40 ± 2.62 มม.ปรอท. เนื่องจากค่าความแตกต่างมากขึ้นในรายที่แรงดันตาสูงขึ้น ซึ่งเป็นข้อมูลบ่งชี้ถึงความน่าเชื่อถือของผลการวัดแรงดันตาวิธีไม่สัมผัสตาเฉพาะกรณีที่ช่วงแรงดันตาปรกติ ดังนั้นในรายที่วัดได้ค่าแรงดันตาสูงจึงควรวัดซ้ำด้วยวิธีมาตรฐานth_TH
dc.format.extent186362 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการวัดแรงดันตาด้วยมาตรอัตโนมัติแบบไม่สัมผัสตา เปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐานen_US
dc.title.alternativeComparison between Intraocular Pressures Measured by Non-contact Tonometer and by Standard Device in Glaucoma and Non-glaucoma Patientsen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis was a cross-sectional analytic study conducted to compare intraocular pressure (IOP) measurements by non-contact tonometer (NCT) and a standard Goldmann applanation tonometer (GAT) in glaucoma and non-glaucoma patients. One hundred and forty-eight outpatients attending Thamuang Hospital in the period December 2007 - January 2008 were categorized into two groups: the glaucoma group comprised 48 patients (48 right eyes, 47 left eyes) and the non-glaucoma group comprised 100 patients (99 right eyes, 100 left eyes). None of the patients had a history of ocular surgery or corneal disease. Their IOP were measured by two independent parallel observers using non-contact tonometer Canon TX-F and Goldmann applanation tonometer. The results of the study disclosed that the intraocular pressures measured by the non-contact tonometer were significantly different from those measured by the Goldmann applanation tonometer (paired t-test statistical analysis p < 0.05) in both glaucoma and non-glaucoma groups. Mean IOP in the glaucoma group, measured by NCT, was lower than GAT (4.63 ±3.14 mmHg right eye, 4.33±3.50 mmHg left eye); also, the mean IOP in the non-glaucoma group, measured by NCT, was lower than GAT (1.95±2.89 mmHg right eye, 2.40±2.62 mmHg left eye). The pressure difference increased in cases with a higher IOP, thus reflecting the reliability of NCT measurement only in measurement of the cases with normal intraocular pressure range. Therefore, repeat intraocular pressure measurement should be performed to conform with the standard Goldmann applanation tonometer, if necessary.en_US
dc.subject.keywordการวัดแรงดันตาen_US
dc.subject.keywordมาตรแรงดันตาแบบไม่สัมผัสตาen_US
dc.subject.keywordIOP measurementsen_US
dc.subject.keywordNon-contact Tonometeren_US
dc.subject.keywordGoldman Applanation Tonometeren_US
.custom.citationปิ่นอภัย บุญศรีโรจน์ and Pinapai Boonsrirote. "การวัดแรงดันตาด้วยมาตรอัตโนมัติแบบไม่สัมผัสตา เปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐาน." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/262">http://hdl.handle.net/11228/262</a>.
.custom.total_download488
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year74
.custom.downloaded_fiscal_year7

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 186.4Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย