Show simple item record

การสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้

dc.contributor.authorมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้en_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-08-21T04:27:37Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:20:19Z
dc.date.available2009-08-21T04:27:37Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:20:19Z
dc.date.issued2552-04en_US
dc.identifier.otherhs1578en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2661en_US
dc.description.abstractสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สนับสนุนให้สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สวรส.ภาคใต้ มอ.) และสมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข ดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งประกอบด้วย 2 โครงการย่อย คือโครงการบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างสุขภาพ และโครงการทำความเข้าใจในวัฒนธรรมท้องถิ่นและพัฒนาเครือข่ายการทำงานในกลุ่มบุคลากรสาธารณสุขห้าจังหวัดชายแดนใต้ โครงการบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างสุขภาพเป็นการทบทวนและศึกษาองค์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ 5 ประเด็น คือ โรคเรื้อรัง (หัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน และความดันโลหิตสูง) อาหารและโภชนาการ ทันตสุขภาพ โรคติดต่อ และสุขภาพจิต โดยศึกษาจากบัญญัติอิสลาม ซึ่งประกอบไปด้วย อัลกุรอานและหะดีษ และใช้ความรู้จากประสบการณ์ของผู้รู้หรือผู้มีประสบการณ์ นำมาวิเคราะห์ภูมิปัญญา ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ ในอัลกุรอานและหะดีษ เพื่อการบูรณาการกับการแพทย์แผนปัจจุบัน นอกจากจะได้ชุดความรู้ในแต่ละประเด็นแล้ว ความคาดหวังสำคัญที่สุดคือกระบวนการของโครงการจะทำให้ผู้นำศาสนาเข้าใจและให้ความสำคัญกับการพัฒนาสุขภาพชุมชนทั้ง 5 ประเด็น และทำให้บุคลากรทางการแพทย์ซึ่งเข้าร่วมในโครงการสามารถบูรณาการบทบัญญัติของศาสนากับการทำงานบริการทางการแพทย์ทั้ง 5 ประเด็น โครงการทำความเข้าใจในวัฒนธรรมท้องถิ่นและพัฒนาเครือข่ายการทำงานในกลุ่มบุคลากรสาธารณสุขห้าจังหวัดชายแดนใต้ เป็นการส่งเสริมให้บุคลากรสาธารณสุขมีความเข้าใจในวัฒนธรรมมลายูและวัฒนธรรมอิสลาม เพื่อนำความเข้าใจในวัฒนธรรมดังกล่าวมาปรับใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มความพึงพอใจให้กับประชาชน การดำเนินงานใช้การจัดให้มีพื้นที่สาธารณะ ใช้กระบวนการสุนทรียสนทนา เป็นเวทีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างเครือข่ายการทำงานระหว่างบุคลากรสาธารณสุขด้วยกันและนักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิในพื้นที่ ความคาดหวังที่นอกเหนือจากทำให้บุคลากรสาธารณสุขปรับวิถีการบริการสุขภาพให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่แล้ว ยังคาดหวังว่าจะใช้วัฒนธรรมและสุขภาพสื่อสารให้เกิดสันติสุขภาวะขึ้นในพื้นที่ที่มีความรุนแรงอยู่en_US
dc.description.sponsorshipแผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย,สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent713809 bytesen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุขen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้en_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectHealth Promotionen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoWA546 ก523 2552en_US
dc.identifier.contactno50ค012en_US
dc.subject.keywordการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subject.keywordมุสลิมen_US
dc.subject.keywordชายแดนภาคใต้en_US
.custom.citationมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้. "การสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2661">http://hdl.handle.net/11228/2661</a>.
.custom.total_download316
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year18
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs1578.pdf
Size: 754.5Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record