แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเถิน จังหวัดลำปาง

dc.contributor.authorสราวุธ แสงทองen_US
dc.contributor.authorSaravut Sangtongen_US
dc.contributor.authorกรรณิการ์ ราชสาวงศ์en_US
dc.contributor.authorKannika Rachsawongen_US
dc.contributor.authorวนิดา สายต่างใจen_US
dc.contributor.authorWanida Saitangjaien_US
dc.contributor.authorสุรีรัตน์ ไชยชะนะen_US
dc.contributor.authorSureerat Chaichanaen_US
dc.contributor.authorธนภัทร อุ่ยเจริญen_US
dc.contributor.authorThanapat Ouicharoenen_US
dc.contributor.authorอาภาภรณ์ บำรุงศรีen_US
dc.contributor.authorArpaporn Bamruengsrien_US
dc.coverage.spatialลำปางen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:42:37Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:20Z
dc.date.available2008-10-01T10:42:37Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:20Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 4) : 777-788en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/270en_US
dc.description.abstractการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชุมชน อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง ในผู้ป่วย 32 ราย. ระยะเวลาดำเนินการ 6 เดือน (กุมภาพันธ์ – กรกฎาคม 2550) โดยทีมสหวิชาชีพ วางกรอบการดำเนินงาน 3 มิติ. มิติที่ 1 ทำการพัฒนาศักยภาพการให้บริการเน้นการควบคุมโรคร่วมและปัจจัยเสี่ยงเดิมในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มีโรคร่วม 13 ราย สามารถควบคุมระดับแรงดันเลือด ระดับน้ำตาลในเลือด ระดับไตรกลีย์เศอไรด์ (IG) และโฆเลสเทอรอลความแน่นต่ำ (LDL) ในเลือดได้ร้อยละ 23.08, 30.77, 69.23 และ 23.08 ตามลำดับ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีโรคร่วมแต่มีปัจจัยเสี่ยงอื่น 14 ราย สามารถควบคุมแรงดันเลือด ระดับ TG และ LDL ได้ร้อยละ 64.29, 57.14 และ 14.29 ตามลำดับ ในส่วนการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงใหม่พบร้อยละ 75 ของผู้ป่วย ซึ่งได้รับการควบคุมทั้งปัจจัยเสี่ยงเดิมและปัจจัยเสี่ยงใหม่ เพื่อลดโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดสมองช้ำซ้อน มิติที่ 2 ทำการพัฒนาศักยภาพพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยและผู้ดูแล พบผู้ป่วยร้อยละ 93.75 ทำกิจกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพได้ครบถ้วนถูกต้องและการประเมินคุณภาพชีวิตด้านการดำเนินกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโดยใช้ดัชนีกิจกรรมประจำวันบาร์เธล พบว่าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี .005) จากการทดสอบความรู้ของผู้ป่วยพบว่าความรู้ด้านอาหาร ผักพื้นบ้านและการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (ค่าพี .005). มิติที่ 3 ทำการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชน เกิดกระแสความตื่นตัวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกลุ่มอาสาสมัครให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย รวมถึงจัดทำแผนชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในชุมชน และเกิดรูปธรรมด้านการป้องกันปฐมภูมิในประชาชนกลุ่มเสี่ยง รวมถึงการสร้างสุขภาพวิถีไทยในชุมชนโดยศักยภาพของชุมชนเอง โดยสรุปการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบผู้ป่วยนอกในระดับโรงพยาบาลชุมชนแม้จะมีข้อจำกัดอยู่บ้าง หากใช้รูปแบบการให้บริการโดยทีมสหวิชาชีพจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยได้ในระดับหนึ่งth_TH
dc.format.extent221849 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเถิน จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeDeveloping a Stroke-care Model for the Outpatient Department, Thoen Hospital, Lampang Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeTo develop a stroke-care model for the outpatient department, Thoen Hospital in Lampang Province, 32 patients were studied in the period February -July 2007 (six months) by a multidisciplinary team. The method of study was a three-dimensional framework. The first dimension was to strengthen the health-care team, focusing on control of comorbid conditions and risk factors. It was found that, in the DM-patient group of 13 cases, the results of risk control as the compliance levels of blood pressure, plasma fasting glucose, TG and LDL were about 23.08, 30.77, 69.23 and 23.08 percent, respectively. In the group of 14 cases without DM but having other risk factors, we found that the levels of blood pressure, TG and LDL were under control at 64.29, 57.14 and 14.29 percent, respectively. By monitoring for new risk factors, we could detect such factors in 24 cases (75%), for whom we controlled both their previous and new risk factors purposely in order to reduce stroke recurrence. The second dimension was to encourage self-care behavior in the patients and their caregivers; we could empower 30 cases (93.75%) to achieve successful rehabilitation. For evaluating the quality of life, we used the Barthel Index of Activity of Daily Living; we found that the score had statistically significantly increased (p = 0.005). The stroke patients could pass their post-test in the topics of nutrition, domestic vegetables and traditional Thai medicine; the increase was significant (p = 0.005). The last dimension was for providing competency for the partnership of the community health-network. The local government and a volunteer-group participated in home health-care activities for stroke patients in the villages. For improving the quality of life for the stroke patients, many community plans have been implemented, such as the screening activities among the population at risk for stroke prevention and fostering health promotion in the Thai style. In conclusion, there is a limitation on stroke care in the outpatient department of the community hospital, but with such a model, using the concept of a multidisciplinary team, the effectiveness of integrated health care for stroke patients could definitely be improved.en_US
dc.subject.keywordโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.subject.keywordทีมสหวิชาชีพen_US
dc.subject.keywordการควบคุมโรคร่วมen_US
dc.subject.keywordStroke-Care Modelen_US
dc.subject.keywordMultidisciplinary Teamen_US
dc.subject.keywordCo-morbid Conditionsen_US
.custom.citationสราวุธ แสงทอง, Saravut Sangtong, กรรณิการ์ ราชสาวงศ์, Kannika Rachsawong, วนิดา สายต่างใจ, Wanida Saitangjai, สุรีรัตน์ ไชยชะนะ, Sureerat Chaichana, ธนภัทร อุ่ยเจริญ, Thanapat Ouicharoen, อาภาภรณ์ บำรุงศรี and Arpaporn Bamruengsri. "การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเถิน จังหวัดลำปาง." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/270">http://hdl.handle.net/11228/270</a>.
.custom.total_download1104
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month10
.custom.downloaded_this_year96
.custom.downloaded_fiscal_year17

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 221.1Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย