แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เชิงอภิมานประสิทธิผลของยากลุ่มสตาติน ที่มีจำหน่ายในประเทศไทยในการลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน

dc.contributor.authorยุพิน ตามธีรนนท์en_US
dc.contributor.authorอุษา ฉายเกล็ดแก้วen_US
dc.contributor.authorปัณรสี ขอนพุดซาen_US
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.otherYot Teerawattananonen_US
dc.contributor.otherYupin Tamteeranonen_US
dc.contributor.otherUsa Chaikledkaewen_US
dc.contributor.otherPanarasri Khonputsaen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-10-15T04:24:18Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:04:16Z
dc.date.available2009-10-15T04:24:18Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:04:16Z
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 3,2(เม.ย.-มิ.ย.2552) : 271-280en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2762en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการประเมินประสิทธิผลทางเวชกรรมของยากลุ่มสตาตินในการลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน โดยการทบทวนวรรณกรรม ยาที่นำมาศึกษา ได้แก่ ยาที่มีจำหน่ายในประเทศไทย คือ atorvastatin, fluvastatin, pravastatin, rosuvastatin และ simvastatin. วิธีการศึกษาเป็นการสืบค้นวรรณกรรมอย่างเป็นระบบจากฐานข้อมูล Medline การศึกษาวิจัยที่ผ่านเกณฑ์คัดเข้าต้องเป็นการทดลองที่มีการสุ่มและกลุ่มควบคุมซึ่งทำการเปรียบเทียบกับยาหลอก หรือยาอื่นในกลุ่มสตาติน ในการลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน การวิเคราะห์ประสิทธิผลของยาแสดงเป็นอัตราเสี่ยงสัมพัทธ์ (odds ratio) จากการวิเคราะห์เชิงอภิมานโดยใช้โปรแกรม WinBUGS ด้วยหลักการรักษาระคน (mixed treatment) หรือการเปรียบเทียบทางอ้อม จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ พบงานวิจัยทั้งหมด 29 เรื่อง ซึ่งได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบยากลุ่มสตาตินกับยาหลอก 26 เรื่อง เปรียบเทียบกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการไม่ให้การรักษาอย่างละ 1 เรื่อง นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเปรียบเทียบ atorvastatin กับ pravastatin 1 เรื่อง สำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันพบว่า simvastatin, atorvastatin และ pravastatin ลดการเกิดโรคได้ ร้อยละ 42, 41 และ 26 ตามลำดับ สำหรับโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน ส่วนยา fluvastatin นั้น ค่าเหตุการณ์ของยาที่ได้ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในกรณีที่มีการวัดเหตุการณ์ดังกล่าว ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า simvastatin, atorvastatin และ pravastatin สามารถลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent243859 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectหลอดเลือดอุดตัน--โรคen_US
dc.subjectหลอดเลือดสมองอุดตันen_US
dc.titleการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เชิงอภิมานประสิทธิผลของยากลุ่มสตาติน ที่มีจำหน่ายในประเทศไทยในการลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตันen_US
dc.title.alternativeA Systematic Review and Meta-analysis of the Efficacy of Statins Available in Thailand in Reducing Acute Coronary Syndrome and Stroke Eventsen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeObjectives: This study was a literature review assessing the clinical efficacy of statins available in Thailand (i.e., atorvastatin, fluvastatin, pravastatin, rosuvastatin and simvastatin) for use in reducing acute coronary syndrome (ACS) and stroke events. Methods: A systematic review and a meta-analysis of randomized controlled trials (RCTs) of statins were studied. The clinical trials on an electronic Medline database were searched. Efficacy studies of statin monotherapy were compared with placebo or other statins on the occurrence of fatal and non-fatal ACS and stroke. Odds ratios (OR) and 95 percent confidence interval (CI) were used to determine the summary efficacy of statins. Indirect comparison of the random effect meta-analysis, using the Bayesian approach and WinBUGS14 software program, were applied. Result: Twenty-nine RCTs in 26 studies enabled comparing statins with a placebo; one study compared statins with no treatment, another compared statins with usual care, and yet another compared atorvastatin with pravastatin. For ACS events, the relative risk reduction (RRR) of simvastatin was 42 percent (OR=0.58, 95%CI=0.51-0.65), the RRR of atorvastatin was 41 percent (OR=0.59, 95%CI=0.51-0.70) and the RRR of pravastatin was 26 percent (OR=0.74, 95%CI=0.66-0.83). For stroke events, the RRR of simvastatin was 26 percent (OR=0.74, 95%CI=0.66-0.83), the RRR of atorvastatin was 19 percent (OR=0.81, 95%CI=0.72-0.93) and the RRR of pravastatin was 14 percent (OR=0.86, 95%CI=0.75-0.97). However, fluvastatin did not significantly reduce ACS (OR=0.37, 95%CI=0.11-1.05) and stroke events (OR=0.85, 95%CI=0.46-1.55). No efficacy study of rosuvastatin on decreasing ACS and stroke events is yet available. Conclusion: The available evidence indicate that simvastatin, atorvastatin and pravastatin significantly reduced ACS and stroke events.en_US
dc.subject.keywordสตาตินen_US
dc.subject.keywordการวิเคราะห์เชิงอภิมานen_US
dc.subject.keywordstatinen_US
dc.subject.keywordACSen_US
.custom.citationยุพิน ตามธีรนนท์, อุษา ฉายเกล็ดแก้ว, ปัณรสี ขอนพุดซา and ยศ ตีระวัฒนานนท์. "การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เชิงอภิมานประสิทธิผลของยากลุ่มสตาติน ที่มีจำหน่ายในประเทศไทยในการลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2762">http://hdl.handle.net/11228/2762</a>.
.custom.total_download1743
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month9
.custom.downloaded_this_year198
.custom.downloaded_fiscal_year22

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v3n2 ...
ขนาด: 243.0Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย