แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การทบทวนและจัดทำแผนที่ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อในประเทศไทย

dc.contributor.authorปรีชา เปรมปรีen_US
dc.contributor.authorลดารัตน์ ผาตินาวินen_US
dc.contributor.authorสมบุญ เสนาะเสียงen_US
dc.contributor.authorกนกทิพย์ ทิพย์รัตน์en_US
dc.contributor.authorสุวรรณา เทพสุนทรen_US
dc.contributor.authorสมเจตน์ ตั้งเจริญศิลป์en_US
dc.contributor.authorเสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อยen_US
dc.contributor.authorธีระศักดิ์ ชักนำen_US
dc.contributor.authorฐิติพงษ์ ยิ่งยงen_US
dc.contributor.authorอัญชนา วากัสen_US
dc.contributor.authorอมรรัตน์ หล่อธีรนุวัฒน์en_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-11-25T04:18:35Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:23:50Z
dc.date.available2009-11-25T04:18:35Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:23:50Z
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.otherhs1631en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2800en_US
dc.description.abstractปัจจุบันการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ส่วนใหญ่ต้องใช้ข้อมูลสารสนเทศของโรคนั้นๆ เป็นพื้นฐาน เช่น ขนาดของปัญหา สถานการณ์และลักษณะทางระบาดวิทยาของโรค สถานการณ์ของเชื้อโรคและพาหะนำโรค ซึ่งได้จากการเฝ้าระวังเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากปัญหาโรคติดต่อที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลาและการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงของโลกและปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ ได้แก่ ภาวะโลกร้อน การเดินทางระหว่างประเทศแบบรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ เพื่อให้รู้เท่าทันและสามารถตอบสนองต่อปัญหาเหล่านั้นจึงมีหลายหน่วยงานที่ดำเนินการเฝ้าระวังโรคติดต่อในปัจจุบัน โดยมีระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อหลักคือระบบเฝ้าระวังโรคจากสถานบริการสาธารณสุขทั่วประเทศซึ่งมีหลายโรคในระบบเดียว นอกจากนี้ยังมีระบบเฝ้าระวังเฉพาะโรค ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อ การเฝ้าระวังพาหะนำโรค และระบบเฝ้าระวังโรคในชุมชน ระบบเฝ้าระวังดังกล่าวอาจมีความซ้ำซ้อนกัน หรือบางโรคอาจไม่มีความจำเป็นต้องมีระบบข้อมูลมารองรับ การทบทวนระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีการดำเนินการอยู่ ณ ปัจจุบันจึงจะเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังให้เหมาะสมต่อความต้องการใช้ข้อมูล และลดความซ้ำซ้อนของระบบได้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทบทวนข้อมูลระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีการดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน 2. เพื่อจัดทำหลักเกณฑ์การพิจารณาความจำเป็นของการมีระบบข้อมูลการเฝ้าระวังโรคติดต่อ 3. เพื่อเชื่อมโยงลักษณะทางระบาดวิทยาของแต่ละโรคกับความจำเป็นด้านระบบข้อมูลของโรคติดต่อen_US
dc.description.sponsorshipสำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข,สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.format.extent31232 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/msworden_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคen_US
dc.rightsสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการป้องกันและควบคุมโรคen_US
dc.subjectโรคติดต่อen_US
dc.subjectการเฝ้าระวังโรคen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการทบทวนและจัดทำแผนที่ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อในประเทศไทยen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoWC20 ป467ก 2552en_US
dc.identifier.contactno49ข008en_US
.custom.citationปรีชา เปรมปรี, ลดารัตน์ ผาตินาวิน, สมบุญ เสนาะเสียง, กนกทิพย์ ทิพย์รัตน์, สุวรรณา เทพสุนทร, สมเจตน์ ตั้งเจริญศิลป์, เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย, ธีระศักดิ์ ชักนำ, ฐิติพงษ์ ยิ่งยง, อัญชนา วากัส and อมรรัตน์ หล่อธีรนุวัฒน์. "การทบทวนและจัดทำแผนที่ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อในประเทศไทย." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2800">http://hdl.handle.net/11228/2800</a>.
.custom.total_download154
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year11
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1631.pdf
ขนาด: 288.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย