แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงในเขตอำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2549

dc.contributor.authorกิตติโชติ ตั้งกิตติถาวรen_US
dc.contributor.authorKittichote Tangkittithavornen_US
dc.coverage.spatialพิจิตรen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:47:27Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:19Z
dc.date.available2008-10-01T10:47:27Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:19Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), (ฉบับเสริม 4) : 891-900en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/284en_US
dc.description.abstractการศึกษาเชิงพรรณนาทางวิทยาการระบาดสถานการณ์การระบาดของโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน วันที่ 20 กุมภาพันธ์ - 23 มีนาคม พ.ศ. 2549 ในเขตอำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร เพื่อทราบปัญหาและแนวทางในการดำเนินงานควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการศึกษาเชิงปริมาณโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายของสำนักระบาดวิทยา และการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ ทำการสังเกตสภาพแวดล้อม รวมทั้งมาตรการที่ใช้ในการดำเนินงานควบคุมโรค ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ผู้ป่วยที่รับการรักษาจากสถานพยาบาลในอำเภอตะพานหินและผู้ป่วยในชุมชน 554 ราย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่าสถิติ ค่าร้อยละ อัตราส่วน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วยวิธีการสามเส้า การศึกษาพบว่ามีผู้ป่วยทั้งสิ้น 554 คน คิดเป็นอัตราป่วย 526.78 ต่อแสนประชากร พื้นที่การระบาดช่วงแรกอยู่ในเขตเทศบาลเมืองตะพานหิน ต่อมาได้แพร่กระจายไปตามตำบลรอบนอก โดยมีอัตราป่วยสูงสุดในเด็กอายุ 0-4 ปี อัตราป่วย 3,485 ต่อแสนประชากร และอายุ 5-9 ปี อัตราป่วย 1,413 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ อาการนำผู้ป่วยมาโรงพยาบาลด้วยอาการถ่ายอุจจาระเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำร้อยละ 85.35 และปวดท้องร้อยละ 58.81 ตรวจป้ายทวารหนักพบเชื้อแบคทีเรียชนิดไม่ก่อโรคร้อยละ 94.52 ตรวจพบโรต้าไวรัสในอุจจาระผู้ป่วย 3 ราย จาก 9 ราย (ร้อยละ 33.33) ไม่สามารถยืนยันแหล่งที่เป็นต้นกำเนิดของการระบาด การดำเนินการควบคุมโรคโดยจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการระดับจังหวัดเพื่อวางแผนปฏิบัติการ จัดตั้งศูนย์ข้อมูลและควบคุมกำกับการดำเนินงานโดยวิธีการค้นหาผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรคอย่างรวดเร็ว ดำเนินมาตรการในการควบคุมโรค รวมทั้งการทำความสะอาดโรงฆ่าสัตว์และตลาดสด ปรับปรุงส้วมสาธารณะ ให้ความรู้และปรับปรุงด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการ จนควบคุมการระบาดของโรคได้ภายใน 4 สัปดาห์ ความสำเร็จในการป้องกันและควบคุมการระบาดโรคอุจจาระร่วงต้องอาศัยการเฝ้าระวัง การสอบสวนโรคและมาตรการการแก้ไขปัญหาแก่ชุมชนอย่างครอบคลุมและรวดเร็ว ข้อมูลที่ได้จากการสอบสวนโรคเชิงรุกและการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ครอบคลุมเป็นสิ่งสำคัญในการหาสาเหตุที่แท้จริงth_TH
dc.format.extent241905 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleสถานการณ์โรคอุจจาระร่วงในเขตอำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2549en_US
dc.title.alternativeSituation of an Outbreak of Acute Diarrheal Disease in Tapanhin District, Phichit Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis study was aimed at investigating an outbreak of acute diarrhea during the period February 20 to March 23, 2006 in Tapanhin district, Phichit Province. It is a descriptive epidemiological study that was undertaken to identify the problems and the interventions needed to control the disease, using an interview with individual case surveillance, as designed by the Bureau of Epidemiology, and specimen collection. The study population comprised 554 cases, including all cases who visited health-care facilities and those in communities in Tapanhin district. An additional study was based on an observation of the environmental factors and the disease-control measures. Quantitative data analysis was presented in percentage, ratio, minimum and maximum, using a computer. These data analyses were based on triangulation in order to make links, between the factors and effective implementation. The study found 554 cases in total (526.67 per 100,000 population). The epidemic began in the municipal area and spread rapidly to surrounding sub-districts. The highest prevalence was among children 1-4 years old (3,485 cases per 100,000) and 5-9 years (1,413 cases per 100,000), respectively. Leading symptoms included watery stool (85.35%), and stomach ache (58.81%). Non-pathogenic bacteria were detected in 94.52% of the cases based on rectal swab culture, whereas rota virus was detected in 3 of 9 stool cultures. A centralized operation unit was set up in order to conduct active case surveillance and control the disease. The interventions were conducted through both sanitation (cleaning animal slaughter units, markets, and public restrooms) and education of street food-vendors. As a result, the epidemic was brought under control within four weeks. The achievement of diarrhea prevention and control requires rapid disease investigation and community intervention from the district health system. To determine the root cause of an epidemic, objective data, based on active case surveillance and comprehensive laboratory examination are helpful.en_US
dc.subject.keywordโรคอุจจาระร่วงen_US
dc.subject.keywordEpidemiologyen_US
.custom.citationกิตติโชติ ตั้งกิตติถาวร and Kittichote Tangkittithavorn. "สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงในเขตอำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2549." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/284">http://hdl.handle.net/11228/284</a>.
.custom.total_download1495
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month15
.custom.downloaded_this_year214
.custom.downloaded_fiscal_year35

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 240.6Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย