แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การศึกษาว่าด้วยมิติทั้ง 4 ของสุขภาพ

dc.contributor.authorวิชัย โชควิวัฒนen_US
dc.contributor.authorVichai Chokevivaten_EN
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2010-01-15T08:22:57Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:04:32Z
dc.date.available2010-01-15T08:22:57Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:04:32Z
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 3,3(ก.ค.- ก.ย.2552) : 323-335en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2861en_US
dc.description.abstractมีความพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้สนับสนุนและคัดค้าน จนในที่สุดคณะกรรมการบริหารขององค์การอนามัยโลก มีข้อยุติให้ปรับปรุงคำจำกัดความคำว่าสุขภาพจากเดิม “สุขภาพหมายถึงสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม และมิได้หมายความเพียงปราศจากโรคและความพิการเท่านั้น” เป็น “สุขภาวะที่สมบูรณ์อย่างมีพลวัตทั้งร่างกาย จิตใจ วิญญาณ และสังคม และมิได้หมายความเพียงปราศจากโรคและความพิการเท่านั้น”อย่างไรก็ดี ข้อเสนอดังกล่าวยังไม่มีการยอมรับเป็นมติของสมัชชาอนามัยโลก ปัจจุบันนิยามอย่างเป็นทางการของ “สุขภาพ” ขององค์การอนามัยโลกจึงยังคงนิยามดั้งเดิม ตามที่ปรากฏในคำปรารภของธรรมนูญขององค์การอนามัยโลก สำหรับประเทศไทยได้มีการเคลื่อนไหวให้เพิ่ม “สุขภาวะทางจิตวิญญาณ” ในคำจำกัดความของสุขภาพในระหว่างการรณรงค์ปฏิรูประบบสุขภาพ ทำให้เกิดความขัดแย้งค่อนข้างรุนแรงจากการคัดค้านขององค์กรพุทธศาสนาหลายองค์กร ปฏิเสธคำว่า “จิตวิญญาณ” ว่าเป็นความคิดเทวนิยมและไม่มีในพุทธศาสนา ในที่สุดได้ข้อยุติให้ใช้คำว่า “ปัญญา” เป็นมิติที่ 4 ของสุขภาพ และพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ได้นิยามความหมายของสุขภาพให้หมายความว่า “ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทายกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล” นิยามดังกล่าว ยังมีปัญหาเมื่อเทียบเคียงกับนิยามในภาษาอังกฤษ ในประเด็นสุขภาวะทางจิตและปัญญา ว่าคำใดคือจิต และคำใดคือปัญญา บทความนี้เสนอให้ไม่ต้องหาข้อยุติในประเด็นดังกล่าว เพราะจะหาข้อยุติได้ยาก และมิติทั้ง 4 ครอบคลุมสาระสำคัญครบถ้วนเท่ากันแล้ว และได้เสนอแนวทางพัฒนาสุขภาวะทั้ง 4 มิติ ตามแนวพุทธเป็นพื้นฐาน โดยผู้ศรัทธาในศาสนาอื่นย่อมพัฒนาหรือขยายความได้โดยอิสระตามพื้นฐานความเชื่อของตนen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent422572 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการศึกษาว่าด้วยมิติทั้ง 4 ของสุขภาพen_US
dc.title.alternativeA Study on the Four Dimensions of Healthen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeAn attempt to include “spiritual health” into WHO definition of health has been made since 1980. It was proposed by member states of WHO in Eastern Mediterranean Region. There were both proponents and opponents of the proposal. Finally the Executive Board of WHO has concluded to propose amendment of the definition of health from that “the state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of the disease or infirmity” to “the dynamic state of complete physical, mental, spiritual and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity.” However, the proposal did not become the resolution at the World Health Assembly. Thus the definition of health remains the same as stated in the preamble of the Constitution of WHO. In Thailand there was a movement to include the “spiritual health” into the definition of health during the campaign on health system reform in the last decade. Such movement brought about strong controversy rooted from some leading Buddhist organizations which rejected the “spiritual dimension” as a concept influenced by theist paradigm which is opposite to Buddhism. Finally, the consensus has been reached to accept the term “intellectual well-being” as the fourth dimension of health. The Health Act B.E. 2007 has then defined health as “the state of human being which is perfect in physical, mental, spiritual and social aspects all of which are holistic in balance.” There are still some problems in the new definition of health concerning the exact meaning of mental and spiritual well-being especially when translates into English. This paper proposed not to try to reach consensus in this issue which is very complicate, since the four dimensions have covered all aspects of health. It also proposed Buddhist way of development of the four dimensions of health as an example. The people in different faith can freely develop or extend their means on the basis of their own faithen_US
dc.subject.keywordสุขภาพทางสังคมen_US
dc.subject.keywordสุขภาวะen_US
dc.subject.keywordสุขภาพทางจิตวิญญาณen_US
dc.subject.keywordSpiritual Dimensionen_US
dc.subject.keywordปัญญาen_US
dc.subject.keywordFour Dimensions of Healthen_US
dc.subject.keywordMentalen_US
.custom.citationวิชัย โชควิวัฒน and Vichai Chokevivat. "การศึกษาว่าด้วยมิติทั้ง 4 ของสุขภาพ." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2861">http://hdl.handle.net/11228/2861</a>.
.custom.total_download2293
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month19
.custom.downloaded_this_year425
.custom.downloaded_fiscal_year65

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v3n3 ...
ขนาด: 416.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย