Show simple item record

Health and Quality of Life of Residents Around A Petrochemical Industry

dc.contributor.authorจันทร์ทิพย์ อินทวงศ์en_US
dc.contributor.authorสุนทร เหรียญภูมิการกิจen_US
dc.contributor.authorชาติวุฒิ จำจดen_US
dc.contributor.authorนัยนา พันโกฏิen_US
dc.contributor.authorChanthip Intawongen_EN
dc.contributor.authorSunthorn Rheanpumikankiten_EN
dc.contributor.authorChattiwut Chamchoden_EN
dc.contributor.authorNaiyana Phankoteen_EN
dc.date.accessioned2010-01-15T08:52:53Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:45:05Z
dc.date.available2010-01-15T08:52:53Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:45:05Z
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 3,3(ก.ค.- ก.ย.2552) : 378-388en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2868en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาพรรณนาภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาพ ระดับคุณภาพชีวิต และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มตัวอย่าง 943 คน ที่อาศัยอยู่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง โดยเก็บข้อมูลในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม 2551 ด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไปและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และด้วยแบบวัดคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา แจกแจงด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ค่าไฆสแควร์ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 27.9 เป็นหญิงอายุเฉลี่ย 46 ปี มีการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 57.8 อาชีพค้าขายร้อยละ 27.9 ดื่มสุราร้อยละ 16.5 สูบบุหรี่ร้อยละ 8.7 ออกกำลังกายร้อยละ 48.9 บ้านพักห่างจากเขตประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีน้อยกว่า 5 กิโลเมตรร้อยละ 59.4 ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาเคยมีการเจ็บป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลร้อยละ 6.8 ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาพบอาการเจ็บป่วยทางระบบการหายใจร้อยละ 61.8 รองลงมาทางระบบประสาทร้อยละ 57.2 และระบบผิวหนังร้อยละ 53.7 การเจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัว ได้แก่ โรคภูมิแพ้อากาศ/ฝุ่นละออง ร้อยละ 26.9 ในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมาเคยได้รับกลิ่นสารเคมี ร้อยละ 59.8 กลิ่นคล้ายกลิ่นแก๊สร้อยละ 52.3 กลิ่นเหม็นฉุนร้อยละ 21.5 และกลิ่นคล้ายฝรั่งสุกร้อยละ15.6 ได้กลิ่นช่วงเย็นถึงค่ำร้อยละ 33.3 ช่วงกลางวันร้อยละ 23.2 และเช้ามืดร้อยละ 17.2 สำหรับคะแนนคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 68.6 ระดับดีร้อยละ 31.3 และไม่ดีร้อยละ 0.1 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ การศึกษา อาชีพและการออกกำลังกาย และภาวะสุขภาพได้แก่ การเจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัว อาการเจ็บป่วยหลังการได้รับกลิ่นสารเคมีทั้งระบบการหายใจ ผิวหนังและประสาทในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา และระยะทางจากบ้านถึงเขตประกอบการ นอกจากนี้ยังพบว่าในช่วง 1 ปี และ 1 เดือนที่ผ่านมา อาการเจ็บป่วยทางการหายใจ ระบบประสาทและผิวหนัง มีความสัมพันธ์กับการได้รับกลิ่นสารเคมีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การศึกษาครั้งสะท้อนให้เห็นว่ากลิ่นสารเคมีในบรรยากาศมีความสัมพันธ์กับสุขภาพ และอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน จึงสมควรมีหน่วยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องต้องพัฒนามาตรการจัดการปัญหาโดยเฉพาะ ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และติดตามภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent253319 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะสุขภาพen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตen_US
dc.subjectHealthen_US
dc.subjectQuality of Lifeen_US
dc.titleสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบเขตอุตสาหกรรมปิโตรเคมีen_US
dc.title.alternativeHealth and Quality of Life of Residents Around A Petrochemical Industryen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis health status and quality of life study was a cross-sectional descriptive one. It was aimed at exploring the health status and quality of life and their related factors in the study population: 943 people living near one of the petrochemical plants in Rayong Province. Data were collected during July and October 2008, using an interview questionnaire and WHOQOL-BREF-THAI. Data were analyzed by descriptive statistics (frequency, percent, mean) and inferential statistics (chi-square). Results revealed that the majority of the study population were females (76.8%) with a mean age of 46 years, and having had a primary school education (57.8%). Of the total, 27.9 percent were traders, 16.5 percent consumed alcohol, 8.7 percent smoked, and 48.9 percent did exercise. The distance between their house and the petrochemical plant was less than 5 kilometers (59.4%). In the past three months, 6.8 percent of them got ill and sought care at hospitals. In the past month, 61.8 percent of them had respiratory symptoms, 57.2 percent had neurological symptoms, and 53.7 percent had dermatological symptoms. Regarding their family members, 26.9 percent were allergic to dust or had hay fever. In the past month, 59.8 percent of them experienced chemical odors: 52.3 percent a gas-like odor, 21.5 percent a pungent odor, and 15.6 percent an odor similar to a ripe guava. A third of them experienced these odors in the evening (33.3%); 23.2 percent smelled the odor during the day and 17.2 percent did so at dawn. The majority of them (68.6%) had a moderate level of quality of life, 31.3 percent had a good level of quality of life, and 0.1 percent had a poor level of quality of life. Factors related to quality of life were personal factors (gender, education, job, exercise), health status (getting ill and family illness), and distance from the petrochemical plant. In addition, respiratory, neurological, and dermatological symptoms in the previous year and the previous month were significantly related to experiencing the chemical odors. This study emphasizes the concern that experiencing chemical odors in ambient air relates to health and may affect people’s quality of life. Health authorities should develop and enhance measures, especially short-term and long-term surveillance, and monitor the health status and quality of life of the people living around industrial zones.en_US
dc.subject.keywordอุตสาหกรรมปิโตรเคมีen_US
dc.subject.keywordมลพิษทางอากาศen_US
dc.subject.keywordPetrochemical Industryen_US
dc.subject.keywordAir Pollutionen_US
.custom.citationจันทร์ทิพย์ อินทวงศ์, สุนทร เหรียญภูมิการกิจ, ชาติวุฒิ จำจด, นัยนา พันโกฏิ, Chanthip Intawong, Sunthorn Rheanpumikankit, Chattiwut Chamchod and Naiyana Phankote. "สุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบเขตอุตสาหกรรมปิโตรเคมี." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2868">http://hdl.handle.net/11228/2868</a>.
.custom.total_download1198
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month8
.custom.downloaded_this_year120
.custom.downloaded_fiscal_year27

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v3n3 ...
Size: 251.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record