Obstructive Sleep Disordered Breathing
dc.contributor.author | ปารยะ อาศนะเสน | en_US |
dc.contributor.author | Paraya Assanasen | en_EN |
dc.date.accessioned | 2010-01-15T08:58:16Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:04:53Z | |
dc.date.available | 2010-01-15T08:58:16Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:04:53Z | |
dc.date.issued | 2552 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 3,3(ก.ค.- ก.ย.2552) : 440-458 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2874 | en_US |
dc.description.abstract | การนอนกรนเป็นปัญหาและความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ เป็นอาการที่บ่งบอกถึงการอุดกั้นทางหายใจส่วนบน ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อภาวะหายใจหยุดขณะหลับ ภาวะหายใจหยุดขณะหลับนี้เป็นภาวะที่มีการอุดกั้นในทางหายใจรุนแรงมาก จนกระทั่งทำให้เกิดการหายใจหยุดเป็นช่วงๆ ขณะนอนหลับ อาการนอนกรน และภาวะหายใจหยุดขณะนอนหลับ เป็นความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับที่พบบ่อย บทความนี้ นำเสนออุบัติการณ์ของการนอนกรนแลพภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ สรีรวิทยาของการนอนหลับ พยาธิสรีรวิทยาของการนอนกรน พยาธิสรีรวิทยาของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ การวินิจฉัย การรักษา | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 1404106 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | การนอนหลับผิดปกติ | en_US |
dc.subject | กลุ่มอาการหายใจหยุดช่วงหลับ | en_US |
dc.subject | การนอนกรน | en_US |
dc.title | การนอนกรน | en_US |
dc.title.alternative | Obstructive Sleep Disordered Breathing | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Obstructive sleep disordered breathing (OSDB) is a collective term that encompasses a spectrum of disorders which can range from primary snoring and upper airway resistance syndrome (UARS) to varying levels of severity of obstructive sleep apnea syndrome (OSAS). Snoring is a common problem encountered in Thailand and indicates upper airway obstruction. It is very annoying to patients’ bed partners since it could deprive them of proper and restful sleep, which is essential to good health. If the degree of such an obstruction is severe, it can lead to OSAS, which is a life-threatening condition. Recognition of OSAS is important since it causes daytime somnolence, neurocognitive defects, chronic fatigue, and depression. In addition, it can increase the risk of having traffic accidents, hypertension, cardiovascular disease, stroke, pulmonary hypertension, and cardiac arrhythmia. The treatment options for OSDB include weight loss, positional therapy, oral devices, continuous positive airway pressure (CPAP), and surgery. | en_US |
.custom.citation | ปารยะ อาศนะเสน and Paraya Assanasen. "การนอนกรน." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2874">http://hdl.handle.net/11228/2874</a>. | |
.custom.total_download | 2511 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 36 | |
.custom.downloaded_this_year | 587 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 80 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ