Efficiency of Three Laboratories in Detecting Cryptosporidium in Stool Samples
dc.contributor.author | อมร เหล็กกล้า | en_US |
dc.contributor.author | จันทิรา สุทธิกรชัย | en_US |
dc.contributor.author | ยุบลรัตน์ สุวรรณคีรี | en_US |
dc.contributor.author | พันธ์พบ เลิศลายต่วน | en_US |
dc.contributor.author | เยาวลักษณ์ สุขธนะ | en_US |
dc.contributor.author | Amorn Lekkla | en_EN |
dc.contributor.author | Chantima Sutthikornchai | en_EN |
dc.contributor.author | Yubolrat Suwanakeeree | en_EN |
dc.contributor.author | Panpob Lertlaituan | en_EN |
dc.contributor.author | Yuawalak Sukthana | en_EN |
dc.date.accessioned | 2010-05-03T07:22:54Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:05:38Z | |
dc.date.available | 2010-05-03T07:22:54Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:05:38Z | |
dc.date.issued | 2552 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 3,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2552) : 534-537 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2924 | en_US |
dc.description.abstract | Cryptosporium parvum เป็นเชื้อฉวยโอกาสที่พบในผู้ป่วยโรคติดเชื้อเอชไอวีระยะเอดส์ เนื่องจากโอโอศิย์สของเชื้อมีขนาดเล็ก การตรวจวินิจฉัยเชื้อนี้จึงต้องใช้วิธีย้อมสีพิเศษในห้องปฏิบัติการที่มีความชำนาญในการตรวจ การศึกษานี้เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการตรวจวินิจฉัยเชื้อ C. parvum ของ 3 หน่วยงานหลักในมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้วิจัยเตรียมตัวอย่างอุจจาระจำนวน 30 ตัวอย่าง ในแต่ละตัวอย่างมีอุจจาระ 10 ไมโครลิตร มีโอโอศิย์สในความเข้มข้นต่างๆกัน ตั้งแต่ 6-1500 ตัว และมีอุจจาระ 3 ตัวอย่างที่ไม่ได้ใส่เชื้อลงไปเป็นกลุ่มควบคุม แล้วจัดส่งไปยังห้องปฏิบัติการทั้ง 3 แห่ง เพื่อทำการตรวจย้อมวิธีย้อมพิเศษ dimethyl sulfoxide (DMSO) หรือ modified acid-fast stain (kinyoun’s) ตามความชำนาญของแต่ละหน่วยงาน ผลปรากฏว่าเมื่อตรวจดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ การย้อมสีพิเศษทั้ง 2 วิธีมีความไวเหมือนกัน โดยห้องปฏิบัติการทั้ง 3 แห่ง สามารถตรวจวินิจฉัยโอโอศิย์สที่มีจำนวนน้อยกว่า 20 ตัว ในตัวอย่างอุจจาระ 10 ไมโครลิตรได้ไม่แตกต่างกัน (ค่าพี = 0.998) การใช้วิธีย้อมสีพิเศษ DMSO modified acid-fast stain (kinyoun’s) ได้ผลทั้ง 2 วิธี จึงสรุปว่าการใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับความถนัดและการฝึกฝนอย่างถูกต้องของบุคลากรห้องปฏิบัติการ จะช่วยแพทย์ในการตรวจวินิจฉัยและการรักษาผู้ป่วยอย่างถูกต้องได้ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 363399 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Health Systems Research Institute | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบการตรวจอุจจาระหาคริย์พโตสปอริเดียม โดยห้องปฏิบัติการ 3 แห่ง | en_US |
dc.title.alternative | Efficiency of Three Laboratories in Detecting Cryptosporidium in Stool Samples | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Cryptosporidium parvum is one of the leading causes of opportunistic infections among HIV/AIDS patients. Due to the small size of its oocysts, detection of this protozoan requires special staining and laboratory expertise. In this study, we compare the effectiveness of the three leading parasitology laboratories in Mahidol University, Thailand. Serial concentrations of Cryptosporidium parvum oocysts from 6 to 1,500 oocysts per 10 μl were added to stool samples and distributed to the study laboratories. Conventional microscopy and special staining, using dimethyl sulfoxide (DMSO) modified acid-fast stain and modified cold Kinyoun’s acid-fast techniques were applied. The sensitivity of both techniques was similar. All three laboratories could detect at least as many as 20 oocysts per 10μl with no statistically significant difference (p= 0.998). Either staining method could be applied at any laboratories serving HIV patients with opportunistic infections. However, training laboratory technicians to acquire such expertise and standardize it is necessary. Effective laboratory diagnosis would be very helpful for physicians, leading to patients’ appropriate management. | en_US |
dc.subject.keyword | คริย์พโตสปอริเดียม | en_US |
dc.subject.keyword | การตรวจอุจจาระ | en_US |
dc.subject.keyword | Cryptosporium Parvum | en_US |
dc.subject.keyword | Modified Acid-fast Stain | en_US |
dc.subject.keyword | Kinyoun’s Acid-fast Technique | en_US |
.custom.citation | อมร เหล็กกล้า, จันทิรา สุทธิกรชัย, ยุบลรัตน์ สุวรรณคีรี, พันธ์พบ เลิศลายต่วน, เยาวลักษณ์ สุขธนะ, Amorn Lekkla, Chantima Sutthikornchai, Yubolrat Suwanakeeree, Panpob Lertlaituan and Yuawalak Sukthana. "การศึกษาเปรียบเทียบการตรวจอุจจาระหาคริย์พโตสปอริเดียม โดยห้องปฏิบัติการ 3 แห่ง." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2924">http://hdl.handle.net/11228/2924</a>. | |
.custom.total_download | 1027 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 22 | |
.custom.downloaded_this_year | 170 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 42 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ