การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ชนิด เอ ที่อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน พฤศจิกายน 2550
dc.contributor.author | ภูรีวรรธน์ โชคเกิด | en_US |
dc.contributor.author | Pureewat Shokekird | en_US |
dc.contributor.author | ธวัชชัย รัตนไพบูลวิทย์ | en_US |
dc.contributor.author | Tavatchai Rattanapaiboonvitch | en_US |
dc.contributor.author | อรุณี โตอ่วม | en_US |
dc.contributor.author | Arunee To-aum | en_US |
dc.contributor.author | รังษิโรจน์ กัญจา | en_US |
dc.contributor.author | Rangsiroght Kalja | en_US |
dc.coverage.spatial | ลำพูน | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-10-02T06:55:01Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:55:13Z | |
dc.date.available | 2008-10-02T06:55:01Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:55:13Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 3) : 671-679 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/292 | en_US |
dc.description.abstract | การสอบสวนและทำการควบคุมการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ สายพันธุ์ H1N1 ในอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิทยาการระบาดของโรค ค้นหาสาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อการระบาด และดำเนินมาตรการควบคุมและป้องกันที่มีประสิทธิภาพ การศึกษาใช้รูปแบบวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาศึกษาสภาพแวดล้อม และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการศึกษาพบผู้ป่วยในการระบาดครังนี้ 80 ราย ในกลุ่มอายุ 4-9 ปี มีผู้ป่วยมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 35.00 ของผู้ป่วยทั้งหมด ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นนักเรียนร้อยละ 58.75 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่พอลีย์เมอเรสพบสารพันธุกรรมของเชื้อไข้หวัดใหญ่ชนิด เอ สายพันธุ์ H1N1 จำนวน 61 ใน 77 ตัวอย่างที่ส่งตรวจ (ร้อยละ 79.22) อุบัติการสูงสุดอยู่ในหมู่ 5 ตำบลศรีวิชัย คิดเป็นอัตราป่วย 38.31 ต่อพันประชากร ลักษณะการระบาดเป็นแบบการแพร่กระจายเชื้อจากแหล่งโรคแพร่กระจาย ซึ่งจุดเริ่มต้นของการระบาดน่าจะมาจากนักเรียนในโรงเรียนแห่งหนึ่งที่อาจได้รับเชื้อมาจากตลาดแล้วมาแพร่เชื้อไวรัสในโรงเรียน ทีมงานได้ดำเนินการควบคุมโรคอย่างครบวงจร โดยเน้นให้สุขศึกษาเรื่องโรค และวิธีป้องกันทั้งในโรงเรียนและชุมชน คัดแยกผู้ป่วยพร้อมกับการแจกหน้ากากอนามัย และแนะนำการล้างมือให้กับนักเรียนครูและผู้ปกครอง ทำการปิดโรงเรียนชั่วคราวเพื่อตัดวงจรการแพร่เชื้อในโรงเรียน เฝ้าระวังและคัดกรองผู้ป่วยในชุมชนพร้อมให้การรักษา เนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนมากเกินกว่าที่โรงพยาบาลลี้รับได้ จึงใช้กลยุทธ์การจัดตั้งโรงพยาบาลสนามขึ้นที่วัดเพื่อดูแลผู้ป่วยในชุมชน ผลจากการดำเนินมาตรการควบคุมป้องกันโรคอย่างเข้มแข็งของทุกหน่วยงานทั้งในโรงพยาบาลและชุมชน และความร่วมมือจากผู้นำชุมชนและประชาชนในพื้นที่ ทำให้การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ครั้งนั้นสงบลงอย่างรวดเร็ว และไม่มีการระบาดไปยังพื้นที่ใกล้เคียง | th_TH |
dc.format.extent | 200570 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ชนิด เอ ที่อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน พฤศจิกายน 2550 | en_US |
dc.title.alternative | An Outbreak of Influenza A (H1N1) in Li District, Lamphun Province, November 2007 | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | An outbreak of influenza A (H1N1) in Li district, Lamphun Province in November 2007 led to investigation and control of the event and an epidemiologic study to determine the characteristics of the outbreak, to define the cause and factors associated with the outbreak, and to implement effective prevention and control measures. Methods included descriptive epidemiology, environmental survey and laboratory study. A total of 80 cases were identified in this outbreak; 58.8 percent were students and 35 percent were children aged 5-9 years. The causative virus, influenza A (H1N1), was identified by PCR technique in 61 out of 77 cases (79.2%). The highest incidence rate of 38.31 per 1,000 population was evident in Village 5 of Srivichai subdistrict. The propagated source epidemic probably started after introduction of influenza virus A by a student who contracted it from the local market and then spread it at his school. The health team implemented comprehensive control measures, including health education on disease etiology and prevention for local residents both in the school and the community, screening and isolation of new cases, giving prompt treatment, providing masks and promoting hand washing among school children and teachers, temporary closure of schools to cut the transmission chain, and active surveillance and early treatment in the community. A field hospital was set-up in a temple to accommodate and provide treatment to overloaded cases from Li Hospital. As a result of all intervention measures implemented by public health agencies, community leaders and villagers, the outbreak was curtailed quickly, with no further outbreak in nearby areas. | en_US |
dc.subject.keyword | ไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ | en_US |
dc.subject.keyword | การระบาด | en_US |
dc.subject.keyword | Influenza A | en_US |
dc.subject.keyword | Outbreak | en_US |
.custom.citation | ภูรีวรรธน์ โชคเกิด, Pureewat Shokekird, ธวัชชัย รัตนไพบูลวิทย์, Tavatchai Rattanapaiboonvitch, อรุณี โตอ่วม, Arunee To-aum, รังษิโรจน์ กัญจา and Rangsiroght Kalja. "การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ชนิด เอ ที่อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน พฤศจิกายน 2550." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/292">http://hdl.handle.net/11228/292</a>. | |
.custom.total_download | 1899 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 30 | |
.custom.downloaded_this_year | 627 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 49 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ