แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การศึกษาทบทวนสถานการณ์การสำรวจข้อมูลทรัพยากรสุขภาพ

dc.contributor.authorกระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดen_US
dc.date.accessioned2010-06-10T03:49:34Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:25:14Z
dc.date.available2010-06-10T03:49:34Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:25:14Z
dc.date.issued2552-12en_US
dc.identifier.otherhs1678en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2942en_US
dc.description.abstractการดำเนินการที่ผ่านมาของการจัดทำรายงานสถิติทรัพยากรสาธารณสุขของประเทศ สำหรับการเผยแพร่ข้อมูล โดยหน่วยงานงานพัฒนาข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านข้อมูลข่าวสารและระบบสารสนเทศสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ในการสำรวจข้อมูลระดับปฐมภูมิ (Primary Data) ตามสถานพยาบาลสาธารณสุขทั้งภาครัฐและเอกชนเป็นรายหน่วยงานมีปัญหาความล่าช้าในการส่งข้อมูล และยังขาดความสมบูรณ์ในการติดตามและประสานงานระหว่างหน่วยงานอยู่บ้าง กลุ่มงานฯ จึงได้มีการทบทวนสถานการณ์การจัดทำระบบข้อมูลการสำรวจทรัพยากรสุขภาพของประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 – 2551 สามารถแบ่งขั้นตอนการรวบรวมรายงานทรัพยากรสาธารณสุขได้ 8 ช่วง โดยเริ่มตั้งแต่การรวบรวมข้อมูลแยกเป็นส่วนภูมิภาคและส่วนกลาง การพัฒนาให้มีการกำหนดรหัสข้อมูลในการบันทึกข้อมูล ก่อนประมวลผลข้อมูล ต่อมาได้มีการนำเทคโนโลยีเครื่องคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการประมวลผลข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข จากนั้นได้มีการกำหนดขั้นตอนการได้รับข้อมูลระดับปฐมภูมิ (Primary Data) จากหน่วยงานส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ซึ่งมีการตรวจสอบ ทบทวน และทวงถาม เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ของข้อมูลก่อนการนำไปใช้งานต่อไป และเริ่มมีการมอบหมายหน่วยงานที่ชัดเจนในการสำรวจและรวบรวมข้อมูลตามสถานพยาบาลทั้งส่วนภูมิภาคและส่วนกลาง ปัจจุบันได้เริ่มนำระบบสารสนเทศเพิ่มการจัดการ (Management Information System : MIS) ในลักษณะการใช้ระบบฐานข้อมูลการรายงานเพื่อการจัดการ (Management Reporting System : MRS) โดยการบันทึกข้อมูลในเครือข่ายบนเวปไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข สำหรับการทบทวนภาพรวมสถิติทรัพยากรสุขภาพ ทั้งด้านบุคลากร การให้บริการสถานบริการสาธารณสุข และงบประมาณรายจ่ายของกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 – 2550 พบว่า บางส่วนจะไม่มีมีบันทึกสถิติบันทึกไว้ และแนวโน้มของข้อมูลจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ในช่วงปี พ.ศ. 2541 จะมีแนวโน้มเฉลี่ยเพิ่มเล็กน้อยหรือลดลงเล็กน้อย ยกเว้นข้อมูลสถิติด้านบุคลากรของพยาบาลเทคนิคที่มีลักษณะโค้งรูประฆังคว่ำ ส่วนข้อมูลครุภัณฑ์ทางการแพทย์มีเพียงปี พ.ศ. 2545 – 2550 เท่านั้น บางข้อมูลจะขาดช่วงไม่ต่อเนื่องในการบันทึกข้อมูล คือ จำนวนประชากรที่มารับบริการครั้งแรกของสถานบริการสาธารณสุขทั่วประเทศที่มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาที่จะนำมาวิเคราะห์หรือเปรียบเทียบข้อมูลในอดีตและปัจจุบัน รวมถึงการพยากรณ์ข้อมูลด้านทรัพยากรสุขภาพในอนาคตen_US
dc.description.sponsorshipสำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพen_US
dc.subjectระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectสารสนเทศทางการแพทย์en_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการศึกษาทบทวนสถานการณ์การสำรวจข้อมูลทรัพยากรสุขภาพen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoW26.5 ก522 2552en_US
dc.identifier.contactno49ข008en_US
dc.subject.keywordข้อมูลสุขภาพen_US
.custom.citationกระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัด. "การศึกษาทบทวนสถานการณ์การสำรวจข้อมูลทรัพยากรสุขภาพ." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2942">http://hdl.handle.net/11228/2942</a>.
.custom.total_download116
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1678.pdf
ขนาด: 906.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย