Show simple item record

Project of drug rehabilitation program development for special case

dc.contributor.authorพรประภา แกล้วกล้าen_US
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ ปลั่งเกียรติยศen_US
dc.date.accessioned2010-06-16T07:20:50Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:24:40Z
dc.date.available2010-06-16T07:20:50Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:24:40Z
dc.date.issued2552-05en_US
dc.identifier.otherhs1683en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2944en_US
dc.description.abstractการศึกษาเพื่อพัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ และจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research)ในรูปแบบ R&D (Research & Development) และมีการผสมผสานวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการหลายแบบ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้า จากเอกสาร (documentary review) การสังเกตและการจดบันทึกภาคสนาม (observation and field notes) และการจัดสนทนากลุ่ม (focus group discussion) ซึ่งจากการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ที่อยู่ระหว่างการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ณ โรงเรียนวิวัฒน์พลเมืองกองทัพเรือแบบพิเศษ จำนวน 36 คน และการติดตามผลการทดลองใช้โปรแกรม ตลอดจนการประชุมระดมสมองร่วมกับนักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปฏิบัติในพื้นที่ และผู้เกี่ยวข้องที่มีประสบการณ์ตรงในด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแบบควบคุมตัว สามารถสรุปผลการศึกษาวิจัยได้ดังต่อไปนี้ 1. โปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนสามารรถนำไปใช้ปฏิบัติงานได้จริง และสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนวิวัฒน์พลเมืองกองทัพเรือแบบพิเศษ ภายใต้กรอบปัญหาด้านบุคลากร ด้านสถานที่ ด้านองค์ความรู้ ด้านโปรแกรม และด้านการบริหารจัดการภายใน ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนได้แก่ กระบวนการชุมชนบำบัด ศาสนบำบัด และระเบียบวินัยทางทหาร โดยการแบ่งฟื้นฟูออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะแรกรับ ระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ และระยะเตรียมกลับคืนสู่สังคม 2. มีการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 2.1 คู่มือการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ ประกอบด้วยแนวคิดเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในรูปแบบชุมชนบำบัด ปรัชญาของการอยู่ร่วมกัน สายการบังคับบัญชา เครื่องมือของบ้าน และแนวทางการจัดกิจกรรมกลุ่มที่มีการดำเนินการเป็นกรณีพิเศษ 2.2 คู่มือการจัดกิจกรรมกลุ่ม (เหมือน) หมายถึง กิจกรรมกลุ่มที่มีการดำเนินการเหมือนกันในแต่ละระยะการฟื้นฟู เช่น กลุ่มประชุมเช้า กลุ่มสัมมนา เป็นต้น 2.3 คู่มือการจัดกิจกรรมกลุ่ม (ต่าง) หมายถึง กิจกรรมกลุ่มที่มีการดำเนินการแตกต่างในแต่ละระยะของการฟื้นฟู เช่น กลุ่มปฐมนิเทศ กลุ่มจูงใจ ซึ่งจะมีเฉพาะในระยะแรกรับเท่านั้นen_US
dc.description.sponsorshipสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, โครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติดen_US
dc.format.extent33792 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/msworden_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherกองพัฒนาการฟื้นฟูสมรรถภาพผ้ติดยาเสพติด กรมคุมประพฤติen_US
dc.rightsโครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติดen_US
dc.subjectการติดสารเสพติดen_US
dc.subjectการฟื้นฟูสมรรถภาพen_US
dc.subjectยาเสพติดen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษen_US
dc.title.alternativeProject of drug rehabilitation program development for special caseen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoWM300 พ245ก 2552en_US
.custom.citationพรประภา แกล้วกล้า and เสาวลักษณ์ ปลั่งเกียรติยศ. "การพัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2944">http://hdl.handle.net/11228/2944</a>.
.custom.total_download0
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0


Fulltext

FilesSizeFormatView

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record