Decision-making on Patient Compensation Related to Adverse Events
dc.contributor.author | ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ | en_US |
dc.contributor.author | บุศราพร เกษสมบูรณ์ | en_US |
dc.contributor.author | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย | en_US |
dc.contributor.author | อมร เปรมกมล | en_US |
dc.contributor.author | Pattapong Kessomboon | en_EN |
dc.contributor.author | Nusaraporn Kessomboon | en_EN |
dc.contributor.author | Supasit Pannarunothai | en_EN |
dc.contributor.author | Amorn Premgamone | en_EN |
dc.date.accessioned | 2010-07-21T02:54:11Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:06:01Z | |
dc.date.available | 2010-07-21T02:54:11Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:06:01Z | |
dc.date.issued | 2553-03 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 4,1(ม.ค.-มี.ค.2553) : 82-88 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2959 | en_US |
dc.description.abstract | จากสภาพปัญหาภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและการฟ้องร้องที่เพิ่มมากขึ้น จึงมีการร่างพระราชบัญญัติกองทุนชดเชยความเสียหายจากบริการสุขภาพที่ออกแบบให้ครอบคลุมคนไทยทุกกลุ่ม แต่กองทุนใหม่นี้ควรมีกระบวนการวินิจฉัยซึ่งเป็นที่ยอมรับ จึงทำการศึกษาบทเรียนเกี่ยวกับเกณฑ์การตัดสินใจที่จะจ่ายหรือไม่จ่ายเงินชดเชย ภายใต้มาตรา41 ของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 โดยใช้วิธีศึกษาเชิงพรรณนาวิเคราะห์ “เหตุผล” ที่คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นระดับจังหวัดใช้พิจารณาตัดสินใจ “จ่าย” หรือ “ไม่จ่าย” เปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ระบุไว้ในข้อบังคับของกองทุนฯ จำนวน 1,276 ราย ในช่วงพ.ศ.2546-2551 จากการศึกษาพบว่าได้ตัดสินใจ “จ่ายเงิน” 1,049 ราย (ร้อยละ 82.2) และไม่จ่าย 227 ราย (ร้อยละ 17.8) เหตุผลส่วนใหญ่ที่คณะอนุกรรมการฯใช้ตัดสิน “จ่ายเงิน” คือ เป็นเหตุสุดวิสัย (ร้อยละ 76.5) ซึ่งหากพิจารณาตามข้อบังคับฯแล้วไม่น่าจะได้รับเงินช่วยเหลือ มีเพียงร้อยละ 27.1 ที่สมควรได้รับเงินช่วยเหลือ ด้วยเหตุผลว่า “เป็นผลจากความบกพร่อง/ผิดพลาด/ไม่ได้มาตรฐานของการดูแลรักษา” ตรงตามข้อบังคับฯ. สำหรับเหตุผลส่วนใหญ่ที่คณะอนุกรรมการฯใช้ตัดสิน “ไม่จ่ายเงิน” คือ “เป็นผลจากกระบวนการของโรค” ร้อยละ 61.6 ซึ่งเป็นไปตามข้อบังคับฯ สรุปว่าได้พบปัญหาความไม่สม่ำเสมอและคลุมเครือ ในการวินิจฉัยเพื่อตัดสินการจ่ายเงินช่วยเหลือฯ ภาวะความเสียหายแบบเดียวกันอาจจะถูกตัดสินว่า “จ่าย” หรือ “ไม่จ่าย” ซึ่งน่าจะนำไปสู่ปัญหาความไม่เป็นธรรม | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | บริการทางการแพทย์ | en_US |
dc.title | การวินิจฉัยภาวะไม่พึงประสงค์จากบริการทางการแพทย์เพื่อการจ่ายชดเชย | en_US |
dc.title.alternative | Decision-making on Patient Compensation Related to Adverse Events | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Adverse events that occur in health service settings are resulting in more lawsuits than ever before. The new patient compensation bill is expected to resolve patient-provider conflicts. It will be designed to cover all groups of Thai people with acceptable claim process and amounts for compensations. This communication reports the results of a study on the decision-making processes involved in compensating injured patients under Article 41 of the National Health Security Act 2002.This was a descriptive study. The reasons used by committees in making decisions on whether to “pay“ or “not pay“ the agrieved parties under the provisions of Article 41 were analyzed and compared with the compensation criteria set out by the National Health Security Office. Altogether 1,276 claims made during the period 2003 - 2008 were included in the study. It was found that, of 1,276 claims, compensation was “paid out“ for 1,049 cases (82.2%) and 227 cases (17.8%) were “not paid”. The main reason for paying compensation was that “it was an unavoidable situation“ (76.5%). However, the reason above was not in accordance with the criteria for compensation. Only 27.1 percent of the claims were made in accordance with the criteria, stating that the injuries were related to medical errors or mistakes or substandard care. The main reason for not paying compensation was that “the adverse events were the results of disease processes“ (61.6%). This was in accordance with the criteria. The conclusion was that inconsistency and unclear decision-making on patient compensations existed. Of two cases with the same kind of injury, one might be paid and the other not. This type of situation might motivate patients to bring cases to court. | en_US |
dc.subject.keyword | ภาวะไม่พึงประสงค์ | en_US |
dc.subject.keyword | การจ่ายค่าชดเชย | en_US |
.custom.citation | ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์, บุศราพร เกษสมบูรณ์, ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย, อมร เปรมกมล, Pattapong Kessomboon, Nusaraporn Kessomboon, Supasit Pannarunothai and Amorn Premgamone. "การวินิจฉัยภาวะไม่พึงประสงค์จากบริการทางการแพทย์เพื่อการจ่ายชดเชย." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2959">http://hdl.handle.net/11228/2959</a>. | |
.custom.total_download | 1088 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 9 | |
.custom.downloaded_this_year | 127 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 21 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ