แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การกระจายอำนาจด้านสุขภาพในต่างประเทศ

dc.contributor.authorจิรบูรณ์ โตสงวนen_US
dc.contributor.authorศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์en_US
dc.contributor.authorหทัยชนก สุมาลีen_US
dc.contributor.authorJiraboon Tosanguanen_EN
dc.contributor.authorSiriwan Pitayarangsariten_EN
dc.contributor.authorHathaichanok Sumaleeen_EN
dc.date.accessioned2010-07-21T03:29:21Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:06:03Z
dc.date.available2010-07-21T03:29:21Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:06:03Z
dc.date.issued2553-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 4,1(ม.ค.-มี.ค.2553) : 89-100en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2960en_US
dc.description.abstractการกระจายอำนาจเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการพัฒนาระบบสุขภาพที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เช่น เพิ่มประสิทธิภาพทำให้มีการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้รวดเร็วและตรงจุดมากขึ้น ตรวจสอบง่ายขึ้น, Rondinelli แบ่งการกระจายอำนาจออกเป็น 4 แบบ คือ การกระจายอำนาจออกจากส่วนกลาง เป็นการมอบอำนาจสู่องค์กรภายใต้การบังคับบัญชา,การถ่ายโอน, การมอบหมาย เป็นการมอบอำนาจสู่องค์กรภายใต้การกำกับ และการแปรรูปองค์กรของรัฐให้เอกชน. ในประเทศไทยสืบเนื่องมาจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 และพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชนและการกระจายอำนาจมากขึ้น โดยได้พัฒนาแผนปฏิบัติการในการกระจายอำนายใน พ.ศ.2544 และแผนปฏิบัติการและขั้นตอนการถ่ายโอนหน้าที่สู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพ.ศ.2545 ซึ่งจะมีการถ่ายโอนภาระหน้าที่ด้านการให้บริการสาธารณสุขสู่ อปท. รวมถึงการถ่ายโอนด้านสาธารณสุขที่จะต้องถ่ายโอนโครงสร้างพื้นฐานและการให้บริการด้วย. การศึกษานี้เป็นการทบทวนบทเรียนจากประเทศโปรตุเกส, สเปน, อิตาลี, เม็กซิโก และสหราชอาณาจักร ในการกระจายอำนาจด้านระบบสุขภาพพบว่า การให้บริการสุขภาพและระบบสุขภาพโดยรวมภายหลังการปฏิรูปดีขึ้น อย่างเช่นในประเทศโปรตุเกส การกระจายอำนาจจากส่วนกลางทำให้สภาวะด้านสุขภาพของประชาชนดีขึ้นเป็นอย่างมาก ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นได้ง่ายยิ่งขึ้น ขณะที่ในอีกหลายประเทศพบว่า ทำให้เกิดความคล่องตัวและมีอิสระในการทำงานของหน่วยงานท้องถิ่นมากขึ้นอันเนื่องมาจากการที่สายงานบังคับบัญชานั้นสั้นลง เช่น อิสระทางการเงินการคลัง(สเปน, อิตาลี, เม็กซิโก และสหราชอาณาจักร), อิสระในการตัดสินใจเรื่องบุคคล (สเปน, สหราชอาณาจักร),อิสระในการซื้อบริการจากผู้ให้บริการอื่นๆที่มีประสิทธิภาพมากกว่า (สหราชอาณาจักร, อิตาลี). ทั้งนี้ในอิตาลีและสหราชอาณาจักรได้มีการทำให้เกิดตลาดภายในระบบสุขภาพ เพื่อทำให้เกิดการแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ และการแยกผู้ซื้อกับผู้ให้บริการออกจากกัน. โดยกลวิธานสองอย่างนี้ ทำให้เกิดการแข่งขันกันพัฒนาตนเองเพื่อให้การให้บริการมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากขึ้น. อย่างไรก็ตาม การกระจายอำนาจในแต่ละประเทศต่างก็ประสบกับปัญหาในเรื่องต่างๆ เช่น ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง,ปัญหาความเป็นธรรมในลักษณะต่างๆ, ปัญหาการตอบสนองในระบบการกระจายอำนาจออกจากส่วนกลางและในระบบตลาดภายในก็มีปัญหาเรื่องภาวะตลาดที่ยังไม่เอื้อให้เกิดการแข่งขัน และปัญหาเรื่องความชัดเจนของคุณภาพในตัวสัญญาระหว่างผู้ซื้อและผู้ให้บริการen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพen_US
dc.titleการกระจายอำนาจด้านสุขภาพในต่างประเทศen_US
dc.title.alternativeHealth Decentralization in Five Countriesen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeDecentralization is one of the tools for the development of a health system which can produce many benefits, such as improvements in technical and allocative efficiency, and improvements in the responsiveness of the health system in meeting the needs of the people. According to Rondinelli(1), decentralization has been categorized into deconcentration, devolution, delegation and privatization. In Thailand, an increasing emphasis has been put on community participation and decentralization following the Constitution of B.E. 2540 and the Decentralisation Act of B.E. 2542 which has led to the development of the Decentralization Plan of B.E. 2544 and the Devolution Plan to Local Administrative Organizations in B.E. 2545. These plans dictated that the provision of public services was to be devolved to LAO, and this includes the transfer of infrastructure and the authority to provide health and health promotion services. This study examines these issues by reviewing the international experience of Portugal, Spain, Italy, Mexico, and the United Kingdom in health system decentralization. From the review, after the reform, decentralization has led to many benefits in the provision of health services and in the health system as a whole. In Portugal, it was found that the health status of the population improved significantly after improvements were effected in access to care. Furthermore, the local authority has become more autonomous and more flexible in being more responsive and efficient. Also, in Italy and the United Kingdom, the internal market and the purchaser-provider split have been introduced in order to improve efficiency, quality and service satisfaction. However, problems related to decentralization were also found. For example, the occurrence of political conflicts from the reform, inequity which emerged in many forms, problems relating to responsiveness in the deconcentration system, and problems with unfavorable conditions and contracts in the internal market system.en_US
dc.subject.keywordHealth Decentralizationen_US
.custom.citationจิรบูรณ์ โตสงวน, ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์, หทัยชนก สุมาลี, Jiraboon Tosanguan, Siriwan Pitayarangsarit and Hathaichanok Sumalee. "การกระจายอำนาจด้านสุขภาพในต่างประเทศ." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2960">http://hdl.handle.net/11228/2960</a>.
.custom.total_download1494
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month10
.custom.downloaded_this_year194
.custom.downloaded_fiscal_year24

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v4n1 ...
ขนาด: 259.5Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย