Results of a Diabetic Patient Care System Development at Health-care Service Network of Kantang Hospital, Kantang District, Trang Province
dc.contributor.author | ยศกร เนตรแสงทิพย์ | en_US |
dc.contributor.author | Yodsagorn Nedsaengtip | en_US |
dc.coverage.spatial | ตรัง | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-10-02T06:55:49Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:55:14Z | |
dc.date.available | 2008-10-02T06:55:49Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:55:14Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 3) : 709-715 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/296 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการส่งต่อจากโรงพยาบาลกันตัง ไปรับการดูแลในสถานบริการปฐมภูมิเครือข่ายในระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมาโดยรวบรวมข้อมูลจากผู้ป่วยเบาหวานที่ส่งต่อไปสถานบริการปฐมภูมิ 97 คน ผู้ให้บริการในสถานบริการปฐมภูมิในเครือข่ายจำนวน 14 คน ในช่วงวันที่ 1-31 ตุลาคม 2550 ผลการวิจัยพบว่าผู้ป่วยอยู่ในกลุ่มอายุ 41-55 ปีมากที่สุด ร้อยละ 40.2 เพศหญิงร้อยละ 79.4 สมรสร้อยละ 81.4 การศึกษาในระดับประถมศึกษาร้อยละ 76.3 อาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 32.0 ระยะการเป็นโรค 1-5 ปีร้อยละ 83.5 ประวัติบุคคลในครอบครัวไม่เป็นโรคที่เกี่ยวข้องร้อยละ 66 เป็นโรคเบาหวานร้อยละ 18.6 ผู้ป่วยเองไม่มีโรคอื่นร่วมด้วยร้อยละ 51.5 รองลงมามีโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วยร้อยละ 32 ดัชนีมวลกายผู้ป่วยอยู่ในระดับปรกติร้อยละ 55.7 และสูงกว่าปรกติร้อยละ 41.2 ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนและหลังส่งต่อไม่แตกต่างกัน แต่การขาดนัดหลังส่งต่อน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าพี < 0.05 ผู้ป่วยมีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานในระดับดีร้อยละ 76.63 ผู้ป่วยปฏิบัติพฤติกรรมทั้ง 5 ด้าน ภาพรวมในระดับดีร้อยละ 75.73 ส่วนพฤติกรรมที่ปฏิบัติได้ดีมากที่สุดคือ การใช้ยา ร้อยละ 92.58 พฤติกรรมที่ปฏิบัติได้ดีน้อยที่สุดคือ การออกกำลังกายร้อยละ 52.80 ความรู้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการกินอาหาร การใช้ยา การดูแลสุขภาพทั่วไปในระดับปานกลาง และการจัดการความเครียดในระดับต่ำ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการออกกำลังกาย (ค่าพี = 0.1). การได้รับบริการจากสถานบริการปฐมภูมิในระดับดีมากกว่าร้อยละ 90 เกือบทุกข้อ ยกเว้นการได้เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเบาหวานที่ได้รับระดับปานกลางร้อยละ 14.4 ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการส่งต่อมีความพึงพอใจในบริการที่ได้รับจากสถานบริการปฐมภูมิในระดับสูงโดยรวมร้อยละ 86.94 สรุปได้ว่าผลการดูแลในคลินิกและสถานบริการปฐมภูมิไม่แตกต่างกันและสามารถดำเนินงานต่อไปเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วย | th_TH |
dc.format.extent | 215380 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.title | ผลการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง | en_US |
dc.title.alternative | Results of a Diabetic Patient Care System Development at Health-care Service Network of Kantang Hospital, Kantang District, Trang Province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to explore the performance of the diabetic patients’ care system that referred patients to the primary care unit (PCU) in the Kantang network health service one year ago. It was to compare the output of care between, before and after patients were referred for diabetic care from Kantang Hospital to the PCU. A self-administered questionnaire, using the PRECEDE PROCEED Model, was used among 14 PCU personnel and 97 patients between October 1 and 31, 2007. The study found that most of the participants were in the age group 41-55 years (40.2%), females reprecented the majority of them at 79.4 percent, couples at 81.4 percent, the level of education at the primary school level at 76.3 percent, agricultural occupation at 32.0 percent, duration of disease 1-5 years at 83.5 percent. The participants with no related disease comprised 51.5 percent of the total; those with hypertension, 32.0 percent, normal body mass index (BMI), 55.7 percent and higher level at 41.2 percent. The levels of blood sugar both before and after referral were not different. Loss to follow-up after referral decreased significantly (p-value < 0.05). The level of knowledge about diabetes was found to be at high at 76.63 percent. With regard to the level of behavior for diabetic control, the highest behavior was drug use at 92.58 percent; the least behavior that patients performed was exercise activity at 52.80 percent. The association between knowledge and behavior with regard to eating, drug use and general health care was moderate, but with stress management, low there seemed to be no effect on exercise activity behavior. Concerning the service that patients got at the PCU after referral, almost all items were high at more than 90 percent, except participation in group practice activity, which was moderate at 14.4 percent. The level of the patients’ satisfaction toward the service was found to be moderate to high, at 86.94 percent. The overall findings indicated that the output of care both at the DM clinic in the hospital and the PCU was not different; thus, this system can continue to perform but there should be concern about the problems and attendance. | en_US |
dc.subject.keyword | ระบบการดูแล | en_US |
dc.subject.keyword | เบาหวาน | en_US |
dc.subject.keyword | Diabetes | en_US |
.custom.citation | ยศกร เนตรแสงทิพย์ and Yodsagorn Nedsaengtip. "ผลการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/296">http://hdl.handle.net/11228/296</a>. | |
.custom.total_download | 708 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 6 | |
.custom.downloaded_this_year | 81 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 17 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ