Show simple item record

Budget Impact from Incorporating Community Pharmacy into the Universal Health Coverage Scheme

dc.contributor.authorนุศราพร เกษสมบูรณ์en_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ ปวงกันทาen_US
dc.contributor.authorสุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวยen_US
dc.contributor.authorวีระศักดิ์ พุทธาศรีen_US
dc.contributor.authorNusaraporn Kessomboonen_EN
dc.contributor.authorSurasit Lochid-amnuayen_EN
dc.contributor.authorWaraporn Poungkanthaen_EN
dc.contributor.authorWeerasak Putthasrien_EN
dc.date.accessioned2010-09-23T03:48:24Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:05:58Z
dc.date.available2010-09-23T03:48:24Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:05:58Z
dc.date.issued2553-06en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 4,2(เม.ย.-มิ.ย. 2553) : 220-230en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2990en_US
dc.description.abstractการศึกษารูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลกับร้านยาในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์ผลกระทบด้านงบประมาณ ที่กำหนดให้ร้านยาเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิธีศึกษาใช้ข้อมูลทุติยภูมิประเมินอุปสงค์และอุปทานของบริการ วิเคราะห์ต้นทุนของบริการเภสัชกรรมชุมชนรายกิจกรรมในมุมมองของผู้ให้บริการ และประเมินผลกระทบเชิงงบประมาณจากการนำร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะเวลาการศึกษาในช่วงเดือนมกราคมถึงกันยายน พ.ศ.2552 จากการศึกษาพบว่าค่าใช้จ่ายโดยประมาณของร้านยาในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานรายละ 182-1,044 บาท หรือเฉลี่ยโรงพยาบาลละ 194,740-1,117,080 บาทและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายละ 182-1,098 บาท หรือเฉลี่ยโรงพยาบาลละ 242,242-1,461,438 บาท ดังนั้นบทบาทของร้านยาในระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าอาจจะเริ่มต้นที่การแบ่งเบาภาระของโรงพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและแรงดันเลือดได้ อย่างไรก็ตามการพัฒนากลวิธีการบริหารการเงินเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อครอบคลุมภาระต้นทุนที่เพิ่มขึ้นในการเชื่อมร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และอาจพิจารณาให้มีการร่วมจ่ายยาจากผู้ใช้บริการเพื่อป้องกันการใช้บริการที่ไม่เหมาะสมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าen_US
dc.titleผลกระทบด้านงบประมาณในการผนวกร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าen_US
dc.title.alternativeBudget Impact from Incorporating Community Pharmacy into the Universal Health Coverage Schemeen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThere are some practical models of community pharmacy provision in Thailand that are coordinated with hospitals in providing care for cases of stable diabetes and hypertension. This study was aimed at estimating the impact on budgets of incorporating community pharmacy into the Universal Health Coverage Scheme in providing care for cases of stable diabetes and hypertension. First, secondary data were reviewed to estimate the supply and demand of community pharmacy services. Unit cost analysis of the community pharmacy activities were situation, using the activity-based costing technique. Finally, the budget impact analysis was estimated under the model of refill medication at the community pharmacy. The timeframe of this study was January to September 2009. The result showed that the budget impact of community pharmacy in providing medication refill for stable diabetes varied between 182 and 1,044 baht per patient, or between 194,740 and 1,117,080 baht per hospital. Regarding the budget impact for medication refill in stable hypertension, the average expenditure ranged from 182 to 1,098 baht per patient, or 242,242 to 1,461,438 baht per hospital. It may be concluded that the community pharmacy could be a part of an integrated package of care for people with long-term conditions, such as stable diabetes and hypertension. However, a financial incentive is required to meet additional costs and to connect community pharmacies to the Universal Health Coverage Scheme. Co-payments may be used in this program to prevent inappropriate utilization.en_US
dc.subject.keywordร้านยาen_US
dc.subject.keywordการร่วมจ่ายen_US
.custom.citationนุศราพร เกษสมบูรณ์, วราภรณ์ ปวงกันทา, สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย, วีระศักดิ์ พุทธาศรี, Nusaraporn Kessomboon, Surasit Lochid-amnuay, Waraporn Poungkantha and Weerasak Putthasri. "ผลกระทบด้านงบประมาณในการผนวกร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2990">http://hdl.handle.net/11228/2990</a>.
.custom.total_download1228
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month17
.custom.downloaded_this_year160
.custom.downloaded_fiscal_year33

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v4n2 ...
Size: 253.5Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record