Show simple item record

Iodine Status in Populations in Chiang Mai,Lamphun, Lampang, and Mae Hong Son during FY 2007-2009

dc.contributor.authorสุเมธ องค์วรรณดีen_US
dc.contributor.authorวรรณฤดี กิจเจริญรุ่งโรจน์en_US
dc.contributor.authorกุลรัตน์ ไชยพรหมen_US
dc.contributor.authorหทัยรัตน์ ทองเขียวen_US
dc.contributor.authorดาราวรรณ สกุลวงศ์en_US
dc.contributor.authorSumet Ongwandeeen_EN
dc.contributor.authorHathairat Thongkhewen_EN
dc.contributor.authorWanruedee Kijjaroenrungrojen_EN
dc.contributor.authorDarawan Sakhulvongen_EN
dc.contributor.authorKhulrat Chaibhomen_EN
dc.coverage.spatialเชียงใหม่en_US
dc.coverage.spatialลำพูนen_US
dc.coverage.spatialลำปางen_US
dc.coverage.spatialแม่ฮ่องสอนen_US
dc.date.accessioned2010-09-23T04:18:17Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:06:23Z
dc.date.available2010-09-23T04:18:17Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:06:23Z
dc.date.issued2553-06en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 4,2(เม.ย.-มิ.ย. 2553) : 257-265en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2994en_US
dc.description.abstractการขาดไอโอดีนมีผลต่อสุขภาพโดยเฉพาะพัฒนาการทางสมองของเด็กในครรภ์ถึงเด็กวัยก่อนเข้าเรียน ในช่วงเวลาที่ผ่านไป สถานการณ์ได้เบาลงหากพิจารณาจากอัตราคอพอกในเด็กนักเรียน กระนั้นก็ตาม การขาดในระดับเล็กน้อยอาจไม่ทำให้เกิดความผิดปรกติทางร่างกายอย่างชัดเจน แต่มีผลให้ระดับเชาวน์ปัญญาต่ำกว่าศักยภาพที่ควรจะเป็นโดยเฉพาะในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการมีไอโอดีนในธรรมชาติที่ต่ำ เช่น ในจังหวัดภาคเหนือและอีสาน การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์ไอโอดีนในประชากรจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิในช่วงปีงบประมาณ 2550-2552 และอาศัยคู่มือ “Assessment of Iodine Deficiency Disorders and Monitoring Their Elimination” ขององค์การอนามัยโลกเป็นกรอบการวิเคราะห์ จากการศึกษาพบว่า ความครอบคลุมของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนมากกว่าร้อยละ 90 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกจังหวัด ยกเว้นแม่ฮ่องสอน ระดับ TSH จากการเจาะส้นเท้าทารกแรกอายุมากกว่า 2 วัน เมื่อ พ.ศ.2552 ในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน ที่พบมากกว่า 11.2 มิลลิยูนิต/ลิตร เท่ากับร้อยละ 12.73,7.84,10.29,15.83 และอุบัติการณ์ภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนเท่ากับ 1:2,297, 1:1,665, 1:2,468, 1:3,058 ตามลำดับ ; อัตราคอพอกในนักเรียนต่ำกว่าร้อยละ 5 ทุกจังหวัด ; และผลการตรวจระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ในแม่ฮ่องสอนร้อยละ 50.89 ไม่เพียงพอ แต่ในนักเรียนประถมของลำพูนพบร้อยละ 52.38 มีระดับสูงเกิน จากข้อมูลแสดงให้เห็นว่าทั้ง 4 จังหวัดเป็นพื้นที่ขาดสารไอโอดีนระดับเล็กน้อยและมีแนวโน้มจะบรรเทาลง การป้องกันการขาดไอโอดีนต้องอาศัยความใส่ใจของผู้บริหาร โดยกำหนดการสร้างเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กด้วยการได้รับไอโอดีนที่เพียงพอให้เป็นมาตรการหลักของการพัฒนาศักยภาพของเด็กไทย การสร้างความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์ของไอโอดีนแก่ประชาชน การสร้างความรับผิดชอบของผู้ประกอบการค้าเกลือต่อสังคม และหากจำเป็น ควรบังคับใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างจริงจังen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectไอโอดีนen_US
dc.subjectIodineen_US
dc.titleสถานการณ์ไอโอดีนในประชากรจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง และแม่ฮ่องสอน พ.ศ. 2550-2552en_US
dc.title.alternativeIodine Status in Populations in Chiang Mai,Lamphun, Lampang, and Mae Hong Son during FY 2007-2009en_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeIodine deficiency has several effects on health, particularly concerning brain development in the fetus and in early childhood. With regard to the past few decades, the situation was mitigated when considering the total goiter rate in children. A mild deficiency produced no obvious physical effect, but did impair mental function. In this regard, the northern and northeastern regions comprised the highest risk areas. This descriptive study was aimed at reviewing the iodine status of populations in Chiang Mai, Lamphun, Lampang, and Mae Hong Son by analyzing secondary data during Fiscal Years 2007-2009 and was framed under the WHO manual entitled “Assessment of Iodine Deficiency Disorders and Monitoring Their Elimination.” It was found that a proportion of the households using adequately iodized salt was progressively over 90 percent in every province except Mae Hong Son. Thyroid function was assessed by screening TSH levels in newborns that were over 11.2 mu/L; in Chiang Mai, Lamphun, Lampang, Mae Hong Son the levels were 12.73, 7.84, 10.29, and 15.83 percent, respectively, and the incidences of thyroid hormone deficiency were 1:2,297, 1:1,665, 1:2,468, 1:3,058 respectively. The total goiter rate was below 5 percent in every province. The level of iodine in urine in pregnancy in Mae Hong Son was equally insufficient at 50.89 percent; in primary school pupils in Lamphun it was 52.38 percent, that is, equally more than adequate. In conclusion, four provinces indicated mild iodine deficiency areas, but their situation had gotten better. Iodine deficiency prevention requires more attention from policymakers. Proper development of intellectual quotients by adequate iodine intake should be designated as one of the national strategies on childhood capacity-building. Correct knowledge-building on the benefits of proper iodine intake should be encouraged. Salt producers need to show social responsibility as well; legal measures are necessary, if they do not do so.en_US
dc.subject.keywordพัฒนาการทางสมองen_US
.custom.citationสุเมธ องค์วรรณดี, วรรณฤดี กิจเจริญรุ่งโรจน์, กุลรัตน์ ไชยพรหม, หทัยรัตน์ ทองเขียว, ดาราวรรณ สกุลวงศ์, Sumet Ongwandee, Hathairat Thongkhew, Wanruedee Kijjaroenrungroj, Darawan Sakhulvong and Khulrat Chaibhom. "สถานการณ์ไอโอดีนในประชากรจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง และแม่ฮ่องสอน พ.ศ. 2550-2552." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2994">http://hdl.handle.net/11228/2994</a>.
.custom.total_download1459
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month32
.custom.downloaded_this_year336
.custom.downloaded_fiscal_year57

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v4n2 ...
Size: 268.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record