แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยที่โรงพยาบาลวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ

dc.contributor.authorสงวนศักดิ์ วิเศษศุกลen_US
dc.contributor.authorSa-nguansak Wisedsukonen_US
dc.coverage.spatialศรีสะเกษen_US
dc.date.accessioned2008-10-02T06:56:33Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:15Z
dc.date.available2008-10-02T06:56:33Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:15Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 3) : 732-737en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/299en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัสสูตรที่แตกต่างกัน จากข้อมูลเวชระเบียนของผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมดจำนวน 89 ราย นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทดสอบความสัมพันธ์ทางสถิติไฆ-สแควร์ การทดสอบทีทั้งกลุ่ม และการทดสอบทีจับคู่ ประชากรที่ศึกษาเป็นชาย ร้อยละ 52.8 และเป็นหญิงร้อยละ 57.2 พบผู้ป่วยกลุ่มอายุ 31-40 ปีมากที่สุดคือร้อยละ 56.2 ผลการตรวจปริมาณเม็ดเลือดขาวชนิดซีดี4 ย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ. 2546-2550) พบว่า ค่าซีดี4 มากกว่า 200 ตัว/ลบ.มม. มีร้อยละ 35.5 40.0 60.7 65.5 และ 84.4 ตามลำดับ การรักษาผู้ป่วยเอชไอวีด้วยยา 2 สูตรคือ สูตร GPO-vir มีร้อยละ 80.9 และด้วยยาสูตร d4T, 3TC และ efavirenz มีร้อยละ 19.1 เมื่อเปรียบเทียบปริมาณเม็ดเลือดขาวชนิดซีดี4 ก่อนและหลังการรักษาด้วยยาต้านไวรัสพบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยหญิงมีปริมาณเม็ดเลือดขาวชนิดซีดี4 เพิ่มขึ้นมากกว่า 200 ตัว/ลบ.มม. ร้อยละ 93.8 ในขณะที่ผู้ป่วยชายมีปริมาณเม็ดเลือดขาวชนิดซีดี4 เพิ่มขึ้นมากกว่า 200 ตัว/ลบ.มม. เพียงร้อยละ 75 ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากผลการศึกษานี้ได้ข้อแนะนำว่าควรส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับยาต่อเนื่องไม่ควรขาดยา และให้ผู้ป่วยวางแผนการใช้ยาให้เพียงพอในช่วงที่ไปทำงานที่อื่น รวมทั้งควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ติดเชื้อเอชไอวี เพื่อติดตามประเมินความก้าวหน้าเป็นระยะๆ รวมทั้งการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีแบบทีมผสมผสาน สหวิชาชีพอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.format.extent166019 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยที่โรงพยาบาลวังหิน จังหวัดศรีสะเกษen_US
dc.title.alternativeThe Outcomes of Anti-HIV Treatment in HIV-infected Patients at Wanghin Hospital, Srisaket Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research study was aimed at assessing the progress of antivirus treatment, the difference in CD4 related antivirus treatment formulation before and after treatment. The sample population comprised cases of HIV/AIDS who were treated at Wanghin Hospital, Srisaket Province in the period from 2003 to July 31, 2007. The study used secondary data on 89 cases of HIV/AIDS. Data analysis was carried out by using a computer program. The mean difference was calculated by chi-square, t-test and paired t-test. The samples comprised male patients (52.8%), female patients (47.2%); and 56.2 percent of the samples were aged 31-40 years. The CD4 counts in the five-year period exceeding 200 cells/mm3 were 35.5, 40.0, 60.7, 65.5 and 84.4, respectively. There were two antivirus treatment formulas, i.e., GPO vir, which was used in 80.9 percent of the cases, and the formula of D4T, 3TC and Efavirenz in 19.1 percent of them. There was no difference in the CD4 count between the two drug formulations, but the differences were significant at the 0.001 level between, after and before treatments. CD4 cells exceeding 200 cells/mm3 were found in 93.8 percent of the female patients and in 75 percent of the male patients, which was significantly differnt (p< 0.05). Based on the present research, it is recommended that the patients should receive drugs continuously and follow-up, evaluation, and patient care should be provided continuously.en_US
dc.subject.keywordผู้ติดเชื้อเอชไอวีen_US
dc.subject.keywordผู้ป่วยเอดส์en_US
dc.subject.keywordAnti-HIV Agentsen_US
dc.subject.keywordHIV Infected Peersonen_US
dc.subject.keywordAIDSen_US
.custom.citationสงวนศักดิ์ วิเศษศุกล and Sa-nguansak Wisedsukon. "การรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยที่โรงพยาบาลวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/299">http://hdl.handle.net/11228/299</a>.
.custom.total_download983
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month22
.custom.downloaded_this_year201
.custom.downloaded_fiscal_year45

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 166.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย