Now showing items 105-124 of 1344

    • การจัดบริการผู้บาดเจ็บของโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3 

      ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์; Nathakrid Thammakawinwong; สุเทพ สินกิตติยานนท์; นฤมล ปาเฉย; อรพรรณ มันตะรักษ์; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      ปริมาณอุบัติเหตุทางถนน มีแนวโน้มสูงขึ้นส่งผลให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิตร่างกายตลอดจนทรัพย์สินอย่างประเมินค่ามิได้ สถิติการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ขององค์การอนามัยโลก พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิต 38.1 ต่อแสนประชากร ...
    • การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; เตือนใจ ภูสระแก้ว; Thuanjai Poosakaew; พิทยา ศรีเมือง; Phitthaya Srimuang; รุจิราลักขณ์ พรหมเมือง; Ruchiralak Prommueang; ไพฑูรย์ พรหมเทศ; Paitoon Promthet; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth; รุจี จารุภาชน์; Rujee Charupash (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ ...
    • การจัดบริการสุขภาพให้แก่พนักงานในองค์กรขนาดใหญ่ 

      มานิตย์ ประพันธ์ศิลป์ (2540)
      การดูแลสุขภาพอนามัยแก่พนักงานในองค์กรขนาดใหญ่ นอกจากเป็นบริการที่จำเป็นที่จะต้องจัดขึ้นเพื่อให้เป็นไปตาม พ.ร.บ.แรงงานแล้ว ยังเป็นมาตรการสำคัญยิ่งในด้านการประกอบการและการอาชีวอนามัย เพื่อมุ่งจัดบริการด้านสุขภาพให้ครบแบบอง ...
    • การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพผสมผสานระหว่างภาครัฐกับภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง 

      ชัยวัฒน์ จัตตุพร; Chaiwat Jattuporn; ประสงค์ ยมหา; Prasong Yomha; พิภพ เมืองศิริ; Pipob Muangsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รูปแบบใหม่ในการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเป็นการผสมผสานการทำงานระหว่างภาครัฐ กับ ภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1. การดำเนินงานการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ ...
    • การจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 

      สุรจิต สุนทรธรรม; Surajit Sunthorntham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      องค์ประกอบของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ต้องมีการจัดองค์กร การรวมตัว และการประสานงาน เพื่อการดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.) และแพทย์ผู้อำนวยการระบบการแพทย์ฉุกเฉินต้องทำให้มั่นใจว่า องค์ประกอบที่จำเป็นแต ...
    • การจัดระบบบริการผู้ป่วยนอกแนวใหม่: แนวคิดและการปฏิบัติ 

      อรรถชัย ภูมาพันธ์; รัชนีกร ผงผ่าน; กิตติพงษ์ บุญลพ (2538)
      บทความชิ้นนี้ชี้ให้เห็นถึงการจัดระบบบริการผู้ป่วยนอกแนวใหม่ที่ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาสุขภาพ โดยปรับระบบขั้นตอนของการบริการใหม่ด้วยการจัดบริการคัดกรองผู้ป่วยไว้เป็นอันดับแรก เพราะเป็นการบริการที่ผู้ให้บริการได้แสดงออ ...
    • การจัดลำดับความสำคัญของโรคหรือปัญหาสุขภาพที่ควรคัดกรองในประชากรไทย 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      การคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรเป็นการตรวจหาโรคหรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในประชากรที่สุขภาพดี เพื่อป้องกันโรคหรือรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น การคัดกรองบางรายการในชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพขาดหลักฐานเรื่องประ ...
    • การจัดลำดับความสำคัญภาวะสุขภาพและโรคไม่ติดต่อของคนต่างด้าวในประเทศไทย 

      ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      ในปี 2547 กระทรวงสาธารณสุขได้มีการประกาศขายบัตรประกันสุขภาพให้คนต่างด้าวที่ไม่มีสิทธิในหลักประกันสุขภาพใดๆ โดยคนต่างด้าวที่ผ่านการตรวจสุขภาพจะได้รับอนุญาตให้ทำงานและซื้อบัตรประกันสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้ ...
    • การจัดหายาของโรงพยาบาลรัฐตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 

      วราวัลย์ จึงศิวะพรพงษ์; Warawan Chungsivapornpong; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; อรพรรณ อ่อนจร; Orapan Onjon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560 แทนระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ที่ใช้อยู่เดิม ทั้งนี้ เพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ ...
    • การจัดเครือข่ายบริการสุขภาพเชิงพื้นที่เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนบุคลากร 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      งานวิจัยนี้เป็นรายงานผลการวิเคราะห์เบื้องต้นของการจัดเครือข่ายบริการสุขภาพสำหรับกำลังคนด้านสุขภาพของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการขาดแคลนกำลังคนและการจัดเครือข่ายบริการสุขภาพ ...
    • การจัดและการใช้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กอายุ 0-5 ปี ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ประคิณ สุจฉายา; Prakin Suchaxaya; ศรีมนา นิยมค้า; Srimana Niyomkar; อมรรัตน์ งามสวย; Amornrat Ngamsuoy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      เด็กอายุ 0-5 ปี เป็นเด็กที่มีพัฒนาการและการเจริญเติบโตรวดเร็ว และมีปัญหาความเสี่ยงด้านสุขภาพและด้านพัฒนาการต่างๆ การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในเด็กกลุ่มนี้จึงเป็นเป้าหมายสำคัญในการดูแลเด็ก งานวิจัยเชิงพรรณานาน ...
    • การจำยี่ห้อผลิตภัณฑ์อาหารของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 

      นงนุช ใจชื่น; พเยาว์ ผ่อนสุข; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Payao Phonsuk; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      หนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเพิ่มขึ้นของภาวะโรคอ้วนในเด็ก คือ การโฆษณาของอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีอิทธิพลต่อความชอบอาหารและพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก การโฆษณาจึงเป็นกลยุทธ์สำคัญทางการตลาดในการสร้างการจดจำยี่ห้ออาหาร โดยมีเป้าหมาย ...
    • การจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์ : ประเด็นข้อขัดแย้ง 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ถาวร สกุลพาณิชย์; Samrit Srithamrongsawat; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
    • การจ่ายค่าบริการตามระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของประเทศไทยและต่างประเทศ 

      อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การศึกษานี้เป็นการทบทวนวรรณกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (Diagnosis Related Group: DRG) ซึ่งเป็นระบบแบ่งกลุ่มผู้ป่วยแบบเฉียบพลัน พัฒนาโดย Robert Fetter และคณะ ที่มหาวิทยาลัยเยล ...
    • การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข บทเรียนจากประเทศสวีเดน 

      สรชัย จำเนียรดำรงการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
    • การซื้อและการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 

      นงนุช ใจชื่น; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การบริโภคอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็กส่งผลต่อสุขภาวะรวมถึงการเจ็บป่วย การศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคอาหารของเด็กในประเทศไทยมีไม่มากนัก การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบ ...
    • การดำเนินการ อุปสรรคและความต้องการของโรงพยาบาลในประเทศไทยในการป้องกันการแพร่กระจายวัณโรค 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka; สุชาดา เหลืองอาภาพงศ์; Suchada Lueang-a-papong; จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ; Jittaporn Chitreecheur (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาลส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย บุคลากรและโรงพยาบาล การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินการ อุปสรรคและความต้องการการสนับสนุนของโรงพยาบาลในประเทศไทยในการป้องกันการแพร่กระจายวัณโรค ...
    • การดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการนำมติสมัชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 1 ประเด็น 1.7 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการจัดการสุขภาพและทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมไปสู่การปฏิบัติ ...
    • การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul; ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; อธิรัฐ บุญญาศิริ; Adhiratha Boonyasiri; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; ศศิ เจริญพจน์; Sasi Jaroenpoj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยได้ดำเนินการ 10 กิจกรรม ในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ได้แก่ 1) ประมาณการขนาดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ...
    • การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโควิด-19 ในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; จิราพร วรวงศ์; Chiraporn Worawong; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; จุฬารัตน์ ห้าวหาญ; Chularat Howharn; ดิษฐพล ใจซื่อ; Dittaphol Jaisue; อภิรดี เจริญนุกูล; Apiradee Charoennukul; ทิพาวรรณ สมจิตร; Thipawan Somjit; ชลดา กิ่งมาลา; Chonlada Kingmala; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      เป็นการวิจัยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเพื่อสังเคราะห์ข้อเสน ...