Now showing items 493-512 of 1334

    • ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของโรงพยาบาลภาครัฐตามแนวทางของ Pharmaceutical Acquisition Capability (PAC) 

      ศิริพา อุดมอักษร; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Siripa Udomaksorn; Rungpetch Sakulbumrungsi; Nusaraporn Kessomboon; Paithip Luangruangrong; Inthira Kanchanapibul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของโรงพยาบาลภาครัฐตามแนวทางของ PAC ใช้ข้อมูลการจัดซื้อยาของโรงพยาบาลภาครัฐปี 2553 จากศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านยาและเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข ...
    • ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      Rothkopf ได้สร้างคำขึ้นมาใหม่จาก information สนธิกับ epidemic เป็น infodemic เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ปัจจัยแทรกซ้อนที่ควบคุมโรคได้ยาก โดยองค์การอนามัยโลกเตือนให้ระวัง infodemic ในยุคความปรกติใหม่ มีคำที่เกี่ยวข้องทั้ง ...
    • ข้อจำกัดและโอกาสในการจัดการกับวิกฤติโรคเรื้อรังในประเทศไทยด้วยมาตรการระดับประชากรตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก 

      ทักษพล ธรรมรังสี; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุลัดดา พงษ์อุทธา; อรทัย วลีวงศ์; อรรถยา ลิ้มวัฒนายิ่งยง; Thaksaphon Thamarangsi; Siriwan Pitayarangsarit; Prapapun Iam-anan; Sirinya Phulkerd; Suladda Ponguttha; Orratai Waleewong; Attaya Limwattanayingyong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่สุดในประเทศไทย เมื่อพิจารณาจากการเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งของทั้งการเสียชีวิตและการเจ็บป่วย ในรายงานสถานะของโรคไม่ติดต่อปี 2553 ขององค์การอนามัยโลกมีข้อเสนอแนะมาตรการระดับประชากร ...
    • ข้อพิจารณาด้านจริยธรรมในการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประเด็นเรื่องการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ ว่าจะต้องดำเนินการอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โดยมีคำถามสำคัญว่าโครงการเหล่านี้จะต้องเสนอให้คณะกรรมการจริยธรรมการวิจ ...
    • ข้อพิจารณาด้านจริยธรรมในการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประเด็นเรื่องการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ ว่าจะต้องดำเนินการอย่างไรจึงจะถูกต้องตามหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โดยมีคำถามสำคัญคือ โครงการเหล่านี้จะต้องเสนอให้คณะกรรมการจริยธรรมการวิจ ...
    • ข้อมูลการมารับบริการของแรงงานต่างด้าวที่โรงพยาบาลแกลง จังหวัดระยอง 

      สานนท์ สังข์ภาพันธ์; Sanont Sungpapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบสำรวจและเป็นการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไป ข้อมูลการมารับบริการ ข้อมูลด้านสิทธิการรักษาพยาบาล และข้อมูลค่าใช้จ่ายของแรงงานต่างด้าวที่มารับบริการที่โรงพยาบาลแกลง ...
    • ข้อมูลและสถิติการสูบบุหรี่ของคนไทย 

      มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ (2541)
    • ข้อเสนอการปฏิรูประบบจัดการงานวิจัยด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      งานวิจัยที่มีคุณภาพและสามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาประเทศได้นั้น ต้องอาศัยการดำเนินงานอย่างเป็นระบบของหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานที่มีหน้าที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ...
    • ข้อเสนอการใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดไรฝุ่นชนิดอมใต้ลิ้นและชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนังในการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ร่วมกับโรคหืดในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 

      ประยุทธ ภูวรัตนาวิวิธ; Prayuth Poowaruttanawiwit; ชนิดา จันทร์ทิม; Chanida Chantim; ไกลตา ศรีสิงห์; Klaita Srisingh (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การระบาดของโควิด-19 ส่งผลต่อระบบการรักษาพยาบาลและทำให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษาได้ยากมากขึ้น ซึ่งในที่สุดแล้วจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและส่งผลกระทบต่อสังคมในภาพรวม บทความนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงปัญหาและความสำคัญที่จะต ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของประชาชนรอบเขตอุตสาหกรรม 

      สรันยา เฮงพระพรหม; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      ปัญหาสุขภาพอันเป็นผลจากสิ่งแวดล้อมเป็นที่สนใจของสาธารณชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมากขึ้นในระยะนี้ หนึ่งในนั้นคือโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่เกิดจากการสัมผัสสารเบนซีน บทความนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลจากรายงานผลงานวิจัยเชิงคุณภาพซ ...
    • ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปกฎหมายการจำกัดการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ยาสูบของเยาวชนไทย 

      จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ; Chakkraphan Phetphum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      การใช้กระบวนการทางกฎหมายเพื่อปกป้องและคุ้มครองเยาวชนไม่ให้เข้าถึงผลิตภัณฑ์ยาสูบได้โดยง่ายเป็นหนึ่งในภารกิจสำคัญระดับชาติ ซึ่งที่ผ่านมามีข้อเท็จจริงบ่งชี้ว่ายังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านกฎหมายเพื่อขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนวัยทำงาน 

      ฉัฐญาณ์ วงศ์รัฐนันท์; Chathaya Wongrathanandha; สุมนมาลย์ สิงหะ; Sumonmarn Singha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรวัยทำงาน การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการนับเป็นช่องทางสำคัญที่จะสามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ จึงจำเป็นต้องหาวิธีส่งเสริมให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของคนไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ 

      ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล; Darunee Paisanpanichkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ท่ามกลางการตีความเพื่อ (กีด)กันมนุษย์ไร้รัฐ (หรือไร้เลข 13 หลัก)/ไร้สัญชาติ ออกจากการเป็นผู้ทรงสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ใน พ.ศ.2551 โดยการสนับสนุนของสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย หรือ สวปก. ...
    • ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับประสิทธิผลของกลูโคซามีน 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      การทบทวนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการใช้กลูโคซามีนในระบบสุขภาพ ซึ่งมีการใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ โดยข้อบ่งใช้ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้คือ ใช้ในการรักษาโรค ...
    • คนงานก่อสร้างหญิงอีสาน 

      ศิริพร จิรวัฒน์กุล (2539)
      อุบัติเหตุเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในชีวิตการทำงานของคนงานก่อสร้างหญิง และการทำงานแบกหามของหนักก็ก่อให้เกิดอาการผิดปกติในบางส่วนของร่างกายเป็นประจำ เช่น เจ็บปวดหน้าอก ท้องน้อย มดลูก ประจำเดือนมาไม่ปกติ ซึ่งส่วนใหญ่จะรักษาเ ...
    • คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามเกณฑ์หรือไม่ : ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (adequate physical activity level) ในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อยของประชากรไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ ปี พ.ศ. 2558 ...
    • คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ...
    • คลังเลือด 

      สมพล พงศ์ไทย; สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      blood bank มักถูกบัญญัติเป็นคำไทยว่า ธนาคารเลือด แต่มีผู้บัญญัติว่า คลังเลือด เป็นศัพท์บัญญัติที่ถูกต้องกว่า โดยให้เหตุผลว่า ธนาคาร น. (ธน+อคาร) (ธน, ธน- น. ทรัพย์สิน) ซึ่งหมายถึงนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ฯลฯ ...
    • คลื่นลูกที่ 3 ของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การปฏิรูประบบบริการสุขภาพของประเทศไทยได้ก้าวสู่ระยะที่สาม หลังจากประสบความสำเร็จในการขยายความครอบคลุมสถานพยาบาลไปทั่วประเทศในระยะที่หนึ่ง และการปฏิรูประบบการเงินการคลังจนมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระยะที่สอง ...
    • ความกันดารของพื้นที่ : หลักเกณฑ์การพิจารณา 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ณิชากร ศิริกนกวิไล; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; Nichakorn Sirikanokvilai; Pongpisut Jongudomsuk; Somsak Chunharas; Pinij Fahamnuaypol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดความกันดารของพื้นที่ระดับอำเภอ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการจ่ายค่าตอบแทน “เบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย” แก่บุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานข้อเสนอการปรับ ...