Browsing Articles by Title
Now showing items 911-930 of 1360
-
ผลกระทบของการดื่มแอลกอฮอล์ต่อผู้อื่น: แนวคิด สถานการณ์ และช่องว่างของความรู้ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)ผลกระทบของการดื่มแอลกอฮอล์ต่อผู้อื่น (Alcohol’s Harm to Others) เป็นมิติหนึ่งในผลกระทบทั้งหมดที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ โดยให้ความสนใจผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นกับบุคคลอื่นนอกจากผู้ดื่ม ซึ่งมักมีลักษณะตามรูปแบบความสัมพันธ์ ... -
ผลกระทบของการเปิดตลาดการค้าเสรีต่อกำลังคนพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษานโยบายและผลกระทบของการเปิดตลาดการค้าเสรีด้านบริการสุขภาพ ต่อกำลังคนพยาบาล รูปแบบการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีดำเนินการวิจัย: ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร วิเคราะห์เนื้อหาและสัมภาษณ์ผู้ท ... -
ผลกระทบของข้อตกลงยอมรับร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภายใต้กรอบอาเซียน ต่อระบบสุขภาพของประเทศไทย: การวิเคราะห์ประสบการณ์จากสหภาพยุโรป
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วมของวิชาชีพพยาบาล เมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๔๙ และลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วมของวิชาชีพแพทย์ และวิชาชีพทันตแพทย์ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ อันถือเป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่อระบบสุขภาพในภูมิภาค ... -
ผลกระทบของนโยบายการใช้บริการผ่าตัดแบบนัดหมายล่วงหน้าภายใต้ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการต่อระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)ผู้มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการสามารถไปรับบริการผ่าตัดแบบนัดหมายล่วงหน้าตามรายการที่กำหนดในโรงพยาบาลเอกชนที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกและยอมรับเงื่อนไขการจ่ายตามที่กรมบัญชีกลางกำหนดได้ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2554 ... -
ผลกระทบของนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนระบบลอยตัวแบบจัดการต่อต้นทุนยา: กรณีศึกษา รพ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี
(2541)เมื่อต้นทุนผลิตสินค้าโดยทั่วไปถูกกระทบจากนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนระบบลอยตัวแบบจัดการที่รัฐบาลไทยได้ประกาศใช้ระบบตะกร้าเงินตั้งแต่ 2 ก.ค. 2540 ย่อมทำให้ภาระต้นทุนยาของโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น เมื่อเป็นเช่นนี้ การศึกษาเปรียบเทีย ... -
ผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อระยะเวลาการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)ภูมิหลังและเหตุผล: การระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อระบบการดูแลผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บนอกโรงพยาบาล วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อระยะเวลาในการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลมห ... -
ผลกระทบความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานศิลปหัตถกรรมโลหะภูมิปัญญาท้องถิ่น กรุงรัตนโกสินทร์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การประเมินผลความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานศิลปหัตถกรรมโลหะ ที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น กรุงรัตนโกสินทร์ โดยการสำรวจลักษณะประชากร สภาพปัญหา เพื่อนำมาวิเคราะห์และสร้างรูปแบบใช้ในการประเมินผลด้านความปลอดภัยทา ... -
ผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 และรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดทางไกลในยุคชีวิตวิถีใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)งานวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาต่อรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดในประเทศไทยและความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบจากต่างประเทศมาใช้ในบริบทสังคมไทย โดยสำรวจความคิดเห็นจากนักกิ ... -
ผลกระทบด้านงบประมาณในการผนวกร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)การศึกษารูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลกับร้านยาในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์ผลกระทบด้านงบประมาณ ที่กำหนดให้ร้านยาเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ... -
ผลกระทบด้านสุขภาพจากสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ต่อผู้มีความบกพร่องทางการเห็นในเขตกรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สร้างผลกระทบต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่มเปราะบาง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพจากมาตรการทางสาธารณสุขในสถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 ... -
ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย : การศึกษาเบื้องต้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)การศึกษานี้ประเมินผลกระทบของการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพต่อสุขภาพและความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศไทยด้วยมุมมองของสังคม โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกระดับและข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล 1,023 ... -
ผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประชากรไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12) -
ผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจากภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)ภาวะน้ำหนักเกิน (Overweight) และโรคอ้วนเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังสำคัญหลายชนิดที่ก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นจำนวนมาก ความชุกของโรคอ้วนในประชากรไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปี พ.ศ. 2547 ภาวะน้ำหนักและโรคอ ... -
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการทำเหมืองทองคำแบบใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)การทำเหมืองทองคำแบบใหม่ได้สร้างความกังวลให้แก่สาธารณชนในด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ บทความนี้จะนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการทำเหมืองทองคำแบบใหม่และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ ... -
ผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินแบบเปิด การกำหนดขอบเขตและแนวทางศึกษา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)การทำเหมืองถ่านหินอาจสร้างผลกระทบต่อสุขภาพได้หลายประการ ปัจจุบันยังขาดแนวทางการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพจากโครงการประเภทนี้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตและแนวทางการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินแบบเปิด ... -
ผลการจัดตั้งคลินิคผู้ติดเชื้อเอชไอวี โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลการดำเนินงานคลินิกผู้ติดเชื้อเอชไอวี ของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร จากเวชระเบียนผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน ... -
ผลการช่วงชิงพื้นที่ข่าวในการผลักดันนโยบายเกี่ยวกับกลูโคซามีน และภาพสะท้อนกระบวนการผลักดันนโยบายปฏิรูประบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2553 ให้กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ดำเนินการควบคุมค่าใช้จ่ายของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ โดยเฉพาะค่ายาผู้ป่วยนอก กรมบัญชีกลางได้แต่งตั้งคณะทำงานวิชาการมาศึกษาและเสนอ ... -
ผลการดำเนินการโครงการรณรงค์ขยายหลักประกันสุขภาพสู่ประชาชนจังหวัดขอนแก่น
(2540)ระบบประกันสุขภาพของประชาชนทั่วไปยังมีข้อจำกัดในเชิงสวัสดิการสาธารณะเฉพาะผู้ที่มีรายได้ขั้นต่ำ เช่น ผู้มีรายได้น้อย ผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็กแรกเกิดถึง 12 ขวบ รวมทั้ง อสม. และผู้นำท้องถิ่น โครงการบัตรสุขภาพอันเป็นระบบประกั ... -
ผลการดำเนินงานตามนโยบายการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในหญิงคลอดปกติ โรงพยาบาลมหาสารคาม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)ภูมิหลังและเหตุผล: กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ “การใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด” เป็นตัวชี้วัดหนึ่งของแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยมีเป้าหมายคือ อัตราการใช้ยาปฏิชีวน ... -
ผลการดำเนินงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกยาเข้าสู่บัญชี จ(2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)บัญชี จ(2) เป็นบัญชีย่อยที่เพิ่มเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะสามารถเข้าถึงยาราคาแพงได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมในทุกสิทธิการรักษา โดยมีคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่ง ...