Now showing items 1031-1050 of 1334

    • ระบบข้อมูลเพื่อการควบคุมกำกับการและประเมินผล และการประเมินสถานะของการดำเนินงานตามเป้าหมายกึ่งทศวรรษ เพื่อสุขภาพเด็กไทย 

      ยงยุทธ ขจรธรรม (2551-12-04)
      โครงการนี้เป็นโครงการประเมินสถานการณ์ระบบการควบคุมกำกับการและประเมินผล ซึ่งถือเป็นโครงการระยะที่ 1 ของโครงการควบคุมกำกับและประเมินผลการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายกึ่งทศวรรตเพื่อสุขภาพเด็กไทย โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์กร ...
    • ระบบบริการคลินิกยาต้านไวรัสเอชไอวีของโรงพยาบาลชุมชน : กรณีศึกษาใน 4 จังหวัดภาคเหนือตอนบน 

      สุวัฒน์ จริยาเลิศศักดิ์; Suwat Chariyalertsak; เพณณินาท์ โอเบอร์ดอร์เฟอร์; Peninnah Oberdorfer; จิราพร สุวรรณธีรางกูร; Jiraporn Suwantherangoon; ดาราวรรณ ต๊ะปินดา; Darawan Thapinta; ฟิลลิป เกส; Philip Guest (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
    • ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง 14 ประเทศ 

      สุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์; วิวัฒน์ พุทธวรรณไชย; วิศรี วายุรกุล; จรรยา ภัทรอาชาชัย; Surasak Buranatrevedh; Viwat Puttawanchai; Wisree Wayurakul; Junya Pattaraarchachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      จากการที่มีการขยายตัวของชุมชนเขตเมืองเพิ่มขึ้น ทำให้ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองมีความสำคัญมากขึ้น การศึกษารูปแบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองในประเทศต่างๆจะช่วยให้ได้เรียนรู้รูปแบบที่ดีและนำมาปรับใช้กับระบบบริการของประเทศต่อไปได้ ...
    • ระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม 

      อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์; Thitinut Akkadechanunt; ชญาภา แสนหลวง; Chayapha Sanluang; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายระบบบริหารจัดการ ปัญหา/อุปสรรค และกลยุทธ์ในการบริหารจัดการของโรงพยาบาลบุษราคัมและให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบา ...
    • ระบบประกันสุขภาพ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2551-12-04)
      การปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข กำลังเป็นกระแสใหญ่ทั่วโลก การประกันสุขภาพเป็นประเด็นสำคัญอย่างหนึ่งของระบบบริการ บทความนี้ผู้เขียนได้ทบทวนเกี่ยวกับระบบประกันสุขภาพในระดับสากลและในประเทศไทย สรุปปัญหาและทางออกไว้ด้วย
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2540)
      บทความวิจัยเรื่องนี้ได้ศึกษาวิวัฒนาการของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยอย่างละเอียด นับแต่ปี พศ. 2534-2539 ได้สะท้อนแนวโน้มการพัฒนาและให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อไตรภาคีคือ รัฐ นายจ้าง และลูกจ้าง รวมทั้งประชาชนโดยรวม ...
    • ระบบยาของประเทศไทย บทวิเคราะห์เพื่อการพัฒนา 

      มรกต กรเกษม; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; นิตยา แย้มพยัคฆ์ (2537)
      ระบบยาเป็นระบบย่อยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุข การวิเคราะห์ระบบยาอย่างรอบด้านโดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยสาธารณสุขไทยชิ้นนี้ ได้ให้ความรู้อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบยาและระบบสาธารณสุขของไทยในอนาคตเป็นอย่างมาก ...
    • ระบบวิจัยคลินิกสหสถาบันของประเทศ : ประสบการณ์จากเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน (ตอนที่ 1) 

      ปิยะทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; Piyatat Tasanavivat; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; Suthee Ratanamongkolkul; อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
    • ระบบวิจัยสุขภาพเพื่อการปฏิรูปสุขภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยสุขภาพมีส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทยอย่างมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านไป อย่างไรก็ตาม บริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในระดับสากลและระดับประเทศ รวมทั้งความซับซ้อนของระบบสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้ ...
    • ระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 

      รวินันท์ ศิริกนกวิไล; ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ (2540)
      ระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมสุขภาพ เป็นปัญหาเรื้อรังที่ยังมองไม่เห็นทางแก้อย่างจริงจัง และเป็นรูปธรรม บทความนี้วิเคราะห์แนวคิดและช่องทางของการเกิด การไหลเวียน และการใช้ประโยชน์ของข้อมูลผ่านผู้เกี่ยวข้องระดับต่างๆ ทั้งระดับปฏิบัติการ ...
    • ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2576 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันได้รับผลกระทบจากปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นในการคาดการณ์อนาคตของประเทศเพื่อให้ทราบสถานการณ์สำคัญที่ต้องเผชิญในอนาคตและรับมือหรือใช้ประโยชน์จากปัจจัยเหล่านั้น ...
    • ระบบและกลไก : การเข้าถึงแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองและข้อมูลด้านสาธารณสุข 

      กานต์ สุวรรณสาครกุล; Garn Suwansakornkul; อนุพงษ์ วิเลปนานนท์; Anupong Wilepananont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      แนวคิดเรื่องความเห็นที่สอง เป็นแนวคิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพซึ่งทำให้การรักษาพยาบาลมีคุณภาพและน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้รับบริการ ยิ่งไปกว่านั้น การนำแนวคิดเรื่องนี้มาประยุกต์ใช้อย่างทั่วถึงในประเทศไทย ...
    • ระบบและกลไกการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในมนุษย์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย 

      คณะทำงานศึกษาระบบและกลไกการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาในมนุษย์; The Working Group of Studying Systems and Mechanisms of Antimicrobial Resistance Surveillance in Human (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
    • ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี 

      พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพา เทพวัลย์; Pimpa Thepphawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ แต่หากมารับการรักษาช้าอาจนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรและเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ...
    • ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี 

      พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพ์นิชา เทพวัลย์; Pimnicha Thepphawan (2559-09)
      การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ ตรงกันข้าม การมารับการรักษาช้าอาจจะนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรหรือเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ...
    • รังสีวินิจฉัยวัณโรคระบบประสาท 

      อรสา ชวาลภาฤทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      บทความนี้ได้นำแสดงภาพรังสีวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรคเยื่อหุ้มสมอง และเนื้อสมองที่ตรวจด้วยซีทีสแคนและเอทอาร์ไอ แม้ว่าการรักษาที่ดีที่สุดและแน่นอนที่สุดยังเป็นการตรวจทางพยาธิวิทยา และการตรวจพบเชื้อวัณโรค การตรวจด้วยซีทีสแคน ...
    • รัฐและเอกชนเพื่อสุขภาพ: แนวคิด ข้อควรระวัง และข้อเสนอ 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2540)
      บทความนี้เป็นการสรุปแนวคิดรวบยอดและแนวทางพิจารณาหลักเบื้องต้นของเรื่องธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนของวารสารฉบับนี้ที่ผู้เขียนได้วิเคราะห์/สังเคราะห์ภาพรวมไว้ดีมาก ก่อนที่ท่านผู้อ่านจะศึกษาเรื่องที่เกี่ยวข้องอีก 4 เรื่องถัดไป ...
    • ราคากลางผู้ประสบภัยจากรถโดยกลุ่มวิจัยโรคร่วม: จะได้ประโยชน์หรือ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์; Supachai Kunaratanapruk; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล; Pradit Wongkanaratakul; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; พรพัจน์ กิ่งแก้ว; Pornpat Kingkaew (2537)
      เงินเบี้ยประกันสำหรับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถมียอดไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้านบาทต่อปี เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของประเทศที่ให้โอกาสภาคเอกชนค้ากำไรเข้ามาบริหารกองทุนสาธารณะ ซึ่งบังคับให้เจ้าของรถทุกคันต้องจ่ายเบี้ยประกัน ...
    • ราชบัณฑิตสัญจร มหาวิทยาลัยจำปาสัก ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 

      สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      จุดมุ่งหมายและนโยบายหลักของราชบัณฑิตสัญจร น่าจะเป็นการเผยแพร่ราชบัณฑิตยสถานให้เป็นที่รู้จักทั้งในราชอาณาจักรไทยและต่างประเทศ โดยเสนอกิจกรรมวิชาการเฉพาะกิจและเผยแพร่ผลงานทั้งในอดีตและปัจจุบันให้เป็นที่ประจักษ์แก่สถาบันอื่น
    • รายงานการศึกษาสถานการณ์ดัานการส่งเสริมสุขภาพในประเทศไทยและต่างประเทศ 

      ประภาเพ็ญ สุวรรณ; วสันต์ ศิลปสุวรรณ; บุญยง เกี่ยวการค้า (2551-12-04)
      รายงานการวิจัยนี้เป็นบทสรุปที่เรียบเรียงจากฉบับสมบูรณ์ เรื่องรายงานการศึกษาสถานการณ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเทศไทย และต่างประเทศ โดยได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ มีการสำรวจข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท ...