Now showing items 1038-1057 of 1334

    • ระบบวิจัยคลินิกสหสถาบันของประเทศ : ประสบการณ์จากเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน (ตอนที่ 1) 

      ปิยะทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; Piyatat Tasanavivat; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; Suthee Ratanamongkolkul; อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
    • ระบบวิจัยสุขภาพเพื่อการปฏิรูปสุขภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยสุขภาพมีส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทยอย่างมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านไป อย่างไรก็ตาม บริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในระดับสากลและระดับประเทศ รวมทั้งความซับซ้อนของระบบสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้ ...
    • ระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 

      รวินันท์ ศิริกนกวิไล; ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ (2540)
      ระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมสุขภาพ เป็นปัญหาเรื้อรังที่ยังมองไม่เห็นทางแก้อย่างจริงจัง และเป็นรูปธรรม บทความนี้วิเคราะห์แนวคิดและช่องทางของการเกิด การไหลเวียน และการใช้ประโยชน์ของข้อมูลผ่านผู้เกี่ยวข้องระดับต่างๆ ทั้งระดับปฏิบัติการ ...
    • ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2576 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันได้รับผลกระทบจากปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นในการคาดการณ์อนาคตของประเทศเพื่อให้ทราบสถานการณ์สำคัญที่ต้องเผชิญในอนาคตและรับมือหรือใช้ประโยชน์จากปัจจัยเหล่านั้น ...
    • ระบบและกลไก : การเข้าถึงแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองและข้อมูลด้านสาธารณสุข 

      กานต์ สุวรรณสาครกุล; Garn Suwansakornkul; อนุพงษ์ วิเลปนานนท์; Anupong Wilepananont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      แนวคิดเรื่องความเห็นที่สอง เป็นแนวคิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพซึ่งทำให้การรักษาพยาบาลมีคุณภาพและน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้รับบริการ ยิ่งไปกว่านั้น การนำแนวคิดเรื่องนี้มาประยุกต์ใช้อย่างทั่วถึงในประเทศไทย ...
    • ระบบและกลไกการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในมนุษย์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย 

      คณะทำงานศึกษาระบบและกลไกการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาในมนุษย์; The Working Group of Studying Systems and Mechanisms of Antimicrobial Resistance Surveillance in Human (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
    • ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี 

      พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพา เทพวัลย์; Pimpa Thepphawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ แต่หากมารับการรักษาช้าอาจนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรและเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ...
    • ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี 

      พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพ์นิชา เทพวัลย์; Pimnicha Thepphawan (2559-09)
      การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ ตรงกันข้าม การมารับการรักษาช้าอาจจะนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรหรือเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ...
    • รังสีวินิจฉัยวัณโรคระบบประสาท 

      อรสา ชวาลภาฤทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      บทความนี้ได้นำแสดงภาพรังสีวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรคเยื่อหุ้มสมอง และเนื้อสมองที่ตรวจด้วยซีทีสแคนและเอทอาร์ไอ แม้ว่าการรักษาที่ดีที่สุดและแน่นอนที่สุดยังเป็นการตรวจทางพยาธิวิทยา และการตรวจพบเชื้อวัณโรค การตรวจด้วยซีทีสแคน ...
    • รัฐและเอกชนเพื่อสุขภาพ: แนวคิด ข้อควรระวัง และข้อเสนอ 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2540)
      บทความนี้เป็นการสรุปแนวคิดรวบยอดและแนวทางพิจารณาหลักเบื้องต้นของเรื่องธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนของวารสารฉบับนี้ที่ผู้เขียนได้วิเคราะห์/สังเคราะห์ภาพรวมไว้ดีมาก ก่อนที่ท่านผู้อ่านจะศึกษาเรื่องที่เกี่ยวข้องอีก 4 เรื่องถัดไป ...
    • ราคากลางผู้ประสบภัยจากรถโดยกลุ่มวิจัยโรคร่วม: จะได้ประโยชน์หรือ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์; Supachai Kunaratanapruk; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล; Pradit Wongkanaratakul; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; พรพัจน์ กิ่งแก้ว; Pornpat Kingkaew (2537)
      เงินเบี้ยประกันสำหรับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถมียอดไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้านบาทต่อปี เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของประเทศที่ให้โอกาสภาคเอกชนค้ากำไรเข้ามาบริหารกองทุนสาธารณะ ซึ่งบังคับให้เจ้าของรถทุกคันต้องจ่ายเบี้ยประกัน ...
    • ราชบัณฑิตสัญจร มหาวิทยาลัยจำปาสัก ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 

      สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      จุดมุ่งหมายและนโยบายหลักของราชบัณฑิตสัญจร น่าจะเป็นการเผยแพร่ราชบัณฑิตยสถานให้เป็นที่รู้จักทั้งในราชอาณาจักรไทยและต่างประเทศ โดยเสนอกิจกรรมวิชาการเฉพาะกิจและเผยแพร่ผลงานทั้งในอดีตและปัจจุบันให้เป็นที่ประจักษ์แก่สถาบันอื่น
    • รายงานการศึกษาสถานการณ์ดัานการส่งเสริมสุขภาพในประเทศไทยและต่างประเทศ 

      ประภาเพ็ญ สุวรรณ; วสันต์ ศิลปสุวรรณ; บุญยง เกี่ยวการค้า (2551-12-04)
      รายงานการวิจัยนี้เป็นบทสรุปที่เรียบเรียงจากฉบับสมบูรณ์ เรื่องรายงานการศึกษาสถานการณ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเทศไทย และต่างประเทศ โดยได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ มีการสำรวจข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท ...
    • รายงานการสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษสัลโมเนลลาในหมู่ที่ 2 ตำบลคำบก อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร 

      อนุวัตร แก้วเชียงหวาง; Anuwat Kaewchiangwang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว อำเภอคำชะอี ได้ออกดำเนินการสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ ในหมู่ที่ 2 ตำบลคำบก อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร เพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรค ศึกษาทางวิทยาการระบาดของโรค ...
    • รายงานผลการทบทวนข้อมูลเพื่อความเข้าใจสถานการณ์วัณโรคในกลุ่มแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย 

      นวพรรณ เมธชนัน; Nawaphan Metchanun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      จากการสืบค้นข้อมูลทางวรรณกรรมอย่างเจาะจงในระยะสิบปีที่ผ่านมายังไม่พบงานวิจัยที่เน้นการศึกษาข้อมูลทางสถิติเกี่ยวกับผู้ติดเชื้อวัณโรคที่เป็นคนต่างด้าวในประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทยจากรายงานขององค ...
    • รายงานพัฒนาการโลก พ.ศ.2536: การลงทุนด้านสาธารณสุข (1) 

      หทัย ชิตานนท์; Hathai Chitanon (2537)
      ธนาคารโลกซึ่งเป็นองค์กรหนึ่งที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาโลกได้ศึกษาและจัดทำรายงานนี้ขึ้น กล่าวกันว่ารายงานนี้มีประโยชน์อย่างมากต่อการใช้เป็นข้อมูลและแนวทางประกอบการกำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขของประเทศต่างๆ ในยุคโลกาภิวัฒน์ ...
    • รายงานพัฒนาการโลก พ.ศ.2536: การลงทุนด้านสาธารณสุข (2) 

      หทัย ชิตานนท์ (2537)
      ธนาคารโลกซึ่งเป็นองค์กรหนึ่งที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาโลกได้ศึกษาและจัดทำรายงานนี้ขึ้น กล่าวกันว่ารายงานนี้มีประโยชน์อย่างมากต่อการใช้เป็นข้อมูลและแนวทางประกอบการกำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขของประเทศต่างๆ ในยุคโลกาภิวัฒน์ ...
    • รายจ่ายของยาที่มีค่าใช้จ่ายสูงและความแตกต่างของการใช้ยาเหล่านั้นในระบบประกันสุขภาพประเภทต่างๆ ภายในโรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ประเทศไทย 

      Yupapun Munkratok; Vithaya Kulsomboon; Yupadee Sirisinsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติบัญชี ง. เป็นยาที่มีค่าใช้จ่ายสูง การใช้ยาเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายด้านยาในภาพรวม การสืบค้นรายการยา ปริมาณการใช้และความแตกต่างของการใช้ยาเหล่านี้ในระบบประกันสุขภาพต่างๆ จะทำให้เกิ ...
    • รายได้และการคืนทุนของโรงพยาบาลแม่และเด็ก เชียงใหม่ 

      บวร งามศิริอุดม; ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์; ศรันยา งามศิริอุดม (2540)
      การศึกษานี้ได้ดำเนินไปพร้อมกับการศึกษาเรื่อง "ต้นทุนต่อหน่วยบริการของโรงพยาบาลแม่และเด็ก เชียงใหม่" ทำให้ได้รับทราบข้อมูลรายงานที่พึงได้ รายได้จริง ณ จุดเรียกเก็บเงิน และรายได้สุทธิ เมื่อนำรายได้เทียบกับต้นทุนอันทำให้ทรา ...
    • รื้อสร้างองค์ความคิดผู้หญิงกับสุขภาพ 

      กฤตยา อาชวนิจกุล; พิมพวัลย์ บุญมงคล (2539)
      ผู้หญิงมีบทบาทมากกว่าความเป็นแม่ ผู้หญิงเป็นผู้ใหับริการสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว สามในสี่ของบุคลากรทางการสาธารณสุขเป็นผู้หญิง แต่สังคมมักมองไม่เห็นบทบาทของผู้หญิงในฐานะผู้ผลิตของครอบครัวและสังคม ประสิทธิภาพการบริการสุขภ ...