Now showing items 453-472 of 1334

    • การแก้ไขปัญหาเบาหวานโดยอาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชน 

      ศุภรักษ์ ศุภเอม; Supparuk supaaim (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการแก้ปัญหาเบาหวานในชุมชน ที่สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดเฉลี่ย และเพิ่มคะแนนคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยเบาหวานได้ ...
    • การแก้ไขโรคนิ้วงอติดโดยการผ่าตัดเจาะผ่านผิวหนังด้วยเครื่องมือทันตกรรมประยุกต์ในโรงพยาบาลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี 

      จรัญ จงเจริญคุณวุฒิ; Jarun Chongcharoenkunawut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลังครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามผลการแก้ไขโรคนิ้วงอติดด้วยการผ่าตัดเจาะผ่านผิวหนังโดยใช้เครื่องมือทันตกรรมประยุกต์ ประชาการในการศึกษานี้คือผู้ป่วยโรคนิ้วงอติดที่ได้รับการผ่าตัดเจาะผ่านผิวหนัง ...
    • การแทรกแซงนโยบายด้านสาธารณสุขของประเทศไทยโดยอุตสาหกรรมอาหารผ่านหน่วยงานภาครัฐ 

      กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; ชะเอม พัชนี; Chaaim Pachanee; มินตรา หงษ์ธำรง; Mintar Hongtumrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การแทรกแซงของภาคอุตสาหกรรม (industrial interference) เพื่อผลประโยชน์ของตน มีทั้งอย่างเปิดเผยและอย่างลับๆ ในหลายรูปแบบและหลายช่องทาง ทั้งผ่านนักการเมืองระดับสูง สื่อสาธารณะและสถาบันการศึกษา ตลอดจนการติดต่อโดยตรงกับผู้ปฏิบ ...
    • การแปรสภาพโรงพยาบาลของรัฐให้เป็นเอกชน: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (2537)
      การจัดบริการสาธารณสุขของประเทศไทยจำเป็นต้องได้รับการทบทวนเพื่อปรับปรุงพัฒนา หรือปฏิรูปขนานใหญ่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้อีกต่อไป บทวิเคราะห์เชิงนโยบายนี้จะเป็นส่วนหนึ่งสำหรับการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างถูกทิศทางสำหรับอนาคตต่อไป
    • การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก : ขนาดและผลกระทบ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      ภูมิปัญญาท้องถิ่นของการรักษาโรคและการดูแลสุขภาพที่กลั่นออกมาเป็นองค์ความรู้ที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น มีในสังคมทุกแห่ง ก่อนความรู้ของการแพทย์แผ่นใหม่ (modern medicine) ซึ่งยึดวิธีการพิสูจน์แบบการแพทย์ตะวันตก (western medicine) ...
    • การแสดงออกทางใบหน้า 

      โสภา ชูพิกุลชัย ชปีลมันน์; เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      Facial expression โดยนัยศัพท์ต้องบัญญัติว่า “การแสดงออกทางใบหน้า” ซึ่งเป็นลักษณะทางกายภาพขององค์ประกอบใบหน้า (สีผิว, ริ้วรอย, คิ้ว, ดวงตา, จมูก, ปาก, ลิ้น) ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันเชิงพลวัต เพื่อสื่อสะท้อนควา ...
    • การโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มในรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กและเยาวชน: ช่องว่างและวิกฤตการควบคุม 

      นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)
      โฆษณาทางโทรทัศน์เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพในการเข้าถึงเด็กและมีอิทธิพลต่อการซื้ออาหารและการบริโภคของเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มทางฟรีทีวี ในช่วงวันและเวลาที่มีรายการสำหรับเด็กและเยาว ...
    • การโฆษณาในรายการโทรทัศน์สำหรับเด็ก: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการกำกับดูแล 

      สรีรโรจน์ สุกมลสันต์; วรรณา ศรีวิริยานุภาพ; วิทยา กุลสมบูรณ์; Sareerarote Sukamolson; Wanna Sriviriyanuparp; Vithaya Kulsomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การโฆษณาในรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กในประเทศไทยเปรียบเทียบกับเกณฑ์การโฆษณาของกรมประชาสัมพันธ์ ปี พ.ศ. 2551 ด้วยการวิเคราะห์การโฆษณาตรงและโฆษณาแฝงในรายการโทรทัศน์สำหรับเด็ก ...
    • การใช้กระบวนการกลุ่มในการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มข้าราชการอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย 

      ปิยะ ศิริลักษณ์; Piya Sirilak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมด้วยกระบวนการกลุ่มในการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ประชากรที่ศึกษาเป็นข้าราชการในเขตอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย จำนวน 395 คน โดยมีการรว ...
    • การใช้กัญชาในทางการแพทย์กับการเปิดเสรีการใช้กัญชาเพื่อสันทนาการ 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      พัฒนาการด้านกฎหมายยาเสพติดที่สำคัญของไทยเกี่ยวกับการนำกัญชามาใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ก็คือ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2562 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้โดยเป็นการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อใ ...
    • การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจระดับพื้นที่ (2) : จังหวัดสมุทรปราการ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      ฉบับนี้เสนอบทสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในโครงการวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ของจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นจังหวัดแรกที่ทำโครงการนี้ร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
    • การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      เป็นความพยายามของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขที่จะส่งเสริมให้ผู้บริหารงานสาธารณสุขในพื้นที่ ได้ใช้งานวิจัยระบบสาธารณสุขเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการบริหารงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด สถาบันฯ ได้ให้การสนับสนุนโครง ...
    • การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ (3) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2551-12-04)
      ฉบับนี้ขอเสนอบทสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในโครงการวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ของจังหวัดตรัง ซึ่งเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่ร่วมโครงการนี้กับทางสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
    • การใช้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการบริหารงานเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (2537)
      การพัฒนาการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการพัฒนางาน เป็นการวิจัยในระดับพื้นที่ชิ้นนี้ เป็นตัวอย่างที่ดีที่ควรส่งเสริมให้มีการทำกันอย่างกว้างขวาง และหลากหลาย เพราะยิ่งทำกันมากเท่าใด งานสาธารณสุขก็จะดีมากเท่านั้น
    • การใช้ชุดตรวจการติดเชื้อไวรัสเดงกี (DENV NS1) และการรายงานโรคไข้เลือดออกตามระบบเฝ้าระวังโรค รง. 506 ในเขตกรุงเทพมหานคร 

      มนสิณีย์ จันทร์สว่าง; Monsinee Jansawang; วินัย รัตนสุวรรณ; Winai Rattanasuwan; โสภณ เอี่ยมศิริถาวร; Sopon Iamsirithaworn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของภูมิภาคเขตร้อนและร้อนชื้นของโลก รวมทั้งประเทศไทย ติดต่อโดยยุงลายเป็นพาหะนำโรค อาการและอาการแสดงของโรคคล้ายกับโรคอื่นซึ่งยากต่อการวินิจฉัยโรค การใช้ชุดตรวจการติดเชื้อไวรัสเดงกี ...
    • การใช้บริการทันตกรรมของประชาชนไทย : ผลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้ใช้ข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นการสำรวจระดับประเทศเพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเข้ารับบริการทันตกรรมของประชาชนไทย การใช้สิทธิสวัสดิการเพื่อรับการรักษา รวมถึงค่าใช้จ่ายทางทันตกรรมที่เกิดขึ้น ...
    • การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลของคนไทยที่ไม่มีหรือไม่ทราบสิทธิประกันสุขภาพ 

      ประสิทธิ บุญเกิด; Prasit Boonkerd; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้วิเคราะห์การใช้บริการรักษาพยาบาลโรคทั่วไปของคนไทยในกลุ่มที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ หรือไม่ทราบสิทธิ รวมถึงไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากร เศรษฐฐานะ ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน และความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนองของประชากรเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 

      จุฑาทิพ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; คุณากร เอี้ยวสุวรรณ; Kunakorn Aewsuwan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      แม้การบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จะช่วยให้คนไทยทั้งประเทศเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น แต่ประชากรกรุงเทพฯ ก็ยังคงมีปัญหาเข้าถึงการรักษาพยาบาลมากที่สุด เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพของกรุงเทพฯ ...
    • การใช้บริการสุขภาพช่องปากของกลุ่มวัยทำงานไทยปี 2556 

      สุณี วงศ์คงคาเทพ; Sunee Wongkongkathep (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือเพื่อศึกษาสถานการณ์การใช้บริการทันตกรรมของกลุ่มวัยทำงาน (กลุ่มอายุ 25-59 ปี) ในประเทศไทยปี 2556 โดยวิเคราะห์จากฐานข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของสำนักงานสถิติแห่งชาติปี 2556 จำนวน 27,960 ...