Now showing items 1-2 of 2

    • การจัดการนโยบายสาธารณะและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพของเทศบาลสามระดับในประเทศไทย 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Teerapong Khamput; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การจัดการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ต้นน้ำ โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนเอื้อต่อการจัดการปัจจัยทางสังคม ด้วยการกำหนดรูปแบบการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชนในพื้นที่ การศึกษานี้มีว ...
    • รูปแบบการจ้างงาน การคงอยู่ของบุคลากรสุขภาพและภาระงบประมาณ: กรณีศึกษาเฉพาะแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาลในภาครัฐ ระยะ 15 ปีข้างหน้า 

      พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ในปัจจุบันนั้น ภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรสุขภาพที่เป็นข้าราชการลง นโยบายดังกล่าวไม่เพียงแต่ส่งผลต่อบุคลากรฝ่ายสนับสนุนบริการสุขภาพเท่านั้น แต่ยังรวมถึงวิชาชีพด้านสุขภาพต่างๆ ที่สำคัญ ทั้งแพทย์ ทันตแพทย์ ...