• Reinventing the Business of Government: an interview with change catalyst David Osborne 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul (2537)
      บทความนี้ สรุปบทความจาก Harvard Business Review May-June 1994 : 133-143 กรปรับเปลี่ยนหน่วยงานของรัฐซึ่งไร้ประสิทธิภาพไปสู่องค์กรซึ่งไม่หยุดนิ่งและตอบสนองต่อลูกค้าเป็นงานที่ท้าทายรัฐบาลกลางอเมริกากำลังเผชิญกับปัญหาที่ยิ่ง ...
    • การบริหารจัดการเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2539)
      การใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างเหมาะสม จำเป็นต้องตั้งคำถามว่า เทคโนโลยีที่จะใช้นั้นจะส่งผลกระทบอย่างไรต่อการดูแลผู้ป่วย ต่อผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยและสังคม ผลดีที่เพิ่มขึ้นนั้นคุ้มกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นหรือไม่ ...
    • การปฏิรูประบบสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา : บทเรียนสำหรับประเทศไทย 

      ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์; Supachai Kunaratanapruk; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul (2537)
      บทความนี้เป็นการนำเสนอบทวิเคราะห์นโยบายการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา โดยผู้วิเคราะห์ทั้ง 2 ท่าน ได้เสนอข้อคิดเห็นทางวิชาการในเชิงบทเรียนสำหรับประเทศไทย อย่างรอบด้านและน่าสนใจ
    • คุณภาพบริการโรงพยาบาลในสายตาผู้ป่วย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (2539)
      การสำรวจความพึงพอใจของผู้ป่วยเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลในการปรับปรุงคุณภาพบริการของโรงพยาบาล งานวิจัยนี้ได้ประเมินความคิดเห็นของผู้ป่วยต่อคุณภาพบริการทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของโรงพยาบาล 9 แห่งในกรุงเทพฯ ...
    • พัฒนาคุณภาพบริการ มีอะไรใหม่ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2551-12-04)
      ผู้รายงานไปรับรู้ว่าผรั่งกำลังคิดอะไรกันในเรื่องคุณภาพ จึงนำมาเล่าสู่กันฟัง ทำให้เห็นความสำคัญที่ผู้บริหารจะต้องแสวงหาแนวคิดใหม่ๆ มาทดลอง ความสำคัญที่ผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนจะพัฒนาคุณภาพของตนเอง และความสอดคล้องของแนวคิดของศ ...
    • ยุทธศาสตร์เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคบริการทางการแพทย์ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2551-12-04)
      บทความนี้ ปรับปรุงจากเอกสารวิชาการที่นำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณศุข เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2538 ซึ่งเป็นบทความที่มีประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขที่เหมาะสม
    • ระบบประกันสุขภาพ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2551-12-04)
      การปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข กำลังเป็นกระแสใหญ่ทั่วโลก การประกันสุขภาพเป็นประเด็นสำคัญอย่างหนึ่งของระบบบริการ บทความนี้ผู้เขียนได้ทบทวนเกี่ยวกับระบบประกันสุขภาพในระดับสากลและในประเทศไทย สรุปปัญหาและทางออกไว้ด้วย
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2540)
      บทความวิจัยเรื่องนี้ได้ศึกษาวิวัฒนาการของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยอย่างละเอียด นับแต่ปี พศ. 2534-2539 ได้สะท้อนแนวโน้มการพัฒนาและให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อไตรภาคีคือ รัฐ นายจ้าง และลูกจ้าง รวมทั้งประชาชนโดยรวม ...
    • ราคากลางผู้ประสบภัยจากรถโดยกลุ่มวิจัยโรคร่วม: จะได้ประโยชน์หรือ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์; Supachai Kunaratanapruk; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล; Pradit Wongkanaratakul; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; พรพัจน์ กิ่งแก้ว; Pornpat Kingkaew (2537)
      เงินเบี้ยประกันสำหรับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถมียอดไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้านบาทต่อปี เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของประเทศที่ให้โอกาสภาคเอกชนค้ากำไรเข้ามาบริหารกองทุนสาธารณะ ซึ่งบังคับให้เจ้าของรถทุกคันต้องจ่ายเบี้ยประกัน ...
    • สถานการณ์ฉบับที่ี 10 : เสียงสะท้อนจากผู้ป่วย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Sara Bennett (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      เอกสารเผยแพร่ข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุข ฉบับที่ 10 : เสียงสะท้อนจากผู้ป่วย เสียงสะท้อนจากความคิดเห็นของผู้ป่วยที่มีต่อคุณภาพบริการที่ได้รับจากโรงพยาบาล แม้ว่าอาจจะไม่ได้สะท้อนถึงคุณภาพบริการทางการแพทย์โดยตรง ...
    • หลักประกันสุขภาพแบบสิงคโปร์ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2538)
      บทความนี้เป็นอีกบทความหนึ่งที่เสนอแนวทางการแก้ปัญหาระบบบริการสุขภาพในประเทศไทยโดยชี้ให้เห็นถึงแนวคิดและรูปแบบการดำเนินงานด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศสิงคโปร์ ซึ่งมีมุมมองในการแก้ปัญหาอีกรูปแบบหนึ่งและรูปแบบดังกล่าวอาจจะ ...
    • ไปดูเขาพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในแคนาดา โดยกระบวนการ Accreditation 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2539)
      ความสำเร็จของกระบวนการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในแคนาดา อยู่ที่ความตระหนักในคุณค่าของการประเมินตนเอง และการยืนยันผลการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกด้วยความสมัครใจ ทั้งขึ้นอยู่กับกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพจำนวนหนึ่งที่มาทำงานร่วม ...