Now showing items 1-8 of 8

    • การจัดลำดับความสำคัญของโรคหรือปัญหาสุขภาพที่ควรคัดกรองในประชากรไทย 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      การคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรเป็นการตรวจหาโรคหรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในประชากรที่สุขภาพดี เพื่อป้องกันโรคหรือรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น การคัดกรองบางรายการในชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพขาดหลักฐานเรื่องประ ...
    • การตายที่หลีกเลี่ยงได้ในประเทศไทย พ.ศ. 2552 

      ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; กาญจนาวดี ประสิทธิสา; Kanjanawadee Prasittisa; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การตายที่หลีกเลี่ยงได้เป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่สำคัญในการประเมินคุณภาพการรักษาพยาบาลหรือการพัฒนานโยบายสุขภาพของประชากรที่ใช้อย่างแพร่หลายในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยแสดงการตายจากสาเหตุที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น หากมีมาตรการทางสุขภ ...
    • การทบทวนค่าความชุกของการสูญเสียสายตาโดยใช้ภาวะตาบอดและสายตาเลือนรางเป็นตัวชี้วัด 

      กมลทิพย์ ใหม่วงศ์ธำรง; รัตน์สีดา สายทอง; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; วัฒนีย์ เย็นจิตร; Kamontip Maiwongtamrong; Ratsida Saithong; Kanitta Bundhamcharoen; Watanee Jenchitr (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาทบทวนค่าความชุกของการสูญเสียสายตาโดยแบ่งระดับความรุนแรงตามตัวชี้วัดคือภาวะตาบอดและสายตาเลือนราง ตามนิยามขององค์การอนามัยโลก โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจระดับประเทศในคนไทย ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒ จำนวน ๓ ...
    • การประมาณต้นทุนการเจ็บป่วยโรคโควิด-19 สถาบันบำราศนราดูร ประเทศไทย 

      ชุมแพ สมบูรณ์; Chumphae Somboon; มธุรส ทิพยมงคลกุล; Mathuros Tipayamongkholgul; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ของโควิด-19 ตามระดับความรุนแรงของโรคและโรคประจำตัว ในมุมมองของผู้ให้บริการ (provider perspective) วิเคราะห์ต้นทุนด้วยวิธีจากล่างขึ้นบน (bottom-up approach) ...
    • การศึกษาสถานการณ์และพยากรณ์การตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อตามเป้าหมายระดับโลก พ.ศ. 2543-2573 

      ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของประชากรไทยช่วงอายุ 30-70 ปี จากโรคไม่ติดต่อ (noncommunicable diseases: NCDs) 4 กลุ่มโรค ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ...
    • ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาที่ได้รับนมแม่กับการเกิดโรคผื่นผิวหนังอักเสบภูมิแพ้และโรคหืดในเด็ก 

      รัตน์สีดา สายทอง; Ratsida Saithong; จักร์วิดา อมรวิสัยสรเดช; Chakvida Amornvisaisoradej; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      องค์การอนามัยโลกมีข้อแนะนำให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียว (Exclusive breastfeeding) ในช่วงระยะเวลา 6 เดือนแรก เพื่อสุขภาพที่ดีและป้องกันการเจ็บป่วยของบุตร ซึ่งมีงานวิจัยหลายชิ้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างนมแม่แล ...
    • ความสัมพันธ์และความเสี่ยงสัมพัทธ์ของการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจจากการสูบบุหรี่ : การศึกษาทบทวนอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เชิงอนุมาน 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; สุชัญญา อังกุลานนท์; หทัยชนก สุมาลี; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Jiraboon Tosanguan; Suchunya Aungkulanon; Hathaichanok Sumalee; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงและการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรที่สำคัญประการหนึ่ง โดยในปัจจุบันได้มีการศึกษาทางด้านระบาดวิทยามากมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และการเกิดโรค ซึ่งสำหรับโรคมะเร็งปอด ...
    • ภาระของโรคมะเร็งท่อน้ำดีจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย 

      รัตน์สีดา ผลเจริญ; Ratsida Phoncharoen; บรรจบ ศรีภา; Banchob Sripa; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      โรคมะเร็งท่อน้ำดียังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทย สาเหตุหลักของการเกิดมะเร็งชนิดนี้คือ การติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ (Opisthorchis viverrini) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงภาระโรคมะเร็งท่อน้ำดีจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับโดยใ ...