Now showing items 1-4 of 4

    • ความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      วรรณกรรมด้านความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพมีปรากฏมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังองค์การอนามัยโลกแพร่รายงานของคณะกรรมาธิการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ ประเทศสหราชอาณาจักรซึ่งมีระเบียบวิธีการอธิบายความไม่เป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ ...
    • ความเป็นธรรมด้านสุขภาพในผู้สูงอายุไทยภายใต้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      เมธิณี อินทรเทศ; Methinee Intarates; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ธีรพล ทิพย์พยอม; Teerapon Dhippayom; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ความเป็นธรรมทางสุขภาพ คือ การปราศจากช่องว่างเชิงระบบในการจัดสรรทรัพยากร การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคเรื้อรังประเภทโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases: NCDs) หลายโรคร่วมกันได้สูง ...
    • ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 

      ธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์; Teerawat Tussanapirom; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการจัดให้มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้ประชากรเกือบทั้งหมดมีสิทธิในสวัสดิการการรักษาทางทันตกรรมที่จัดให้โดยรัฐ แต่จากผลการสำรวจระดับประเทศที่ผ่านมานั้น ...
    • มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การ ...