Browsing Articles by Subject "นโยบายสาธารณสุข"
Now showing items 1-20 of 42
-
กลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบายด้านสุขภาพและการค้าระหว่างประเทศ: กรณีศึกษาคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาการทำงานของคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) ในฐานะกลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบาย เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการและพิจารณ ... -
การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ ... -
การตอบสนองของโรงพยาบาลต่อนโยบายห้ามเบิกค่ายากลูโคซามีนในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการตอบสนองของโรงพยาบาลต่อนโยบายห้ามเบิกค่ายากลูโคซามีน ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณร่วมกับเชิงคุณภาพ โดยส่งแบบสำรวจมูลค่าและปริมาณการสั่งใช้ยาก่อนและหลังนโยบายฯ 6 เดือน ไปยังโรงพยาบาลศูนย์ ... -
การถ่ายทอดหลักฐานวิชาการกิจกรรมทางกายสู่นโยบายการสร้างเมืองที่กระฉับกระเฉง: การทบทวนวรรณกรรมแบบย่อ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ หมวดที่ 11 มุ่งมั่นให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน เนื่องด้วยการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วส่งผลต่อการเพิ่มภาระโรคไม่ติดต่ออันเนื่อง ... -
การถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศไทย: ความก้าวหน้าและความท้าทาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)งานวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการทบทวนเอกสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของการถ่ายโอนสถานบริการสุขภาพให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นฉบับที่ ... -
การบริหารจัดการภาวะวิกฤตในช่วงสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ระลอกแรก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)โควิด-19 (COVID-19) เป็นวิกฤตโรคระบาดครั้งใหญ่ของประเทศไทยและของโลก ส่งผลกระทบต่อสถานะสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกลไกและกระบวนการบริหารจัดการของรัฐที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์สำคัญระหว่าง ... -
การประเมินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองของไทยด้วยแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่สี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อ เพื่อแก้ไขปัญหาการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ จึงมีการคิดค้นและสนับสนุนให้มีการปฏิบัติในประเทศไทย ซึ่งได้เน้นความสำคัญของทั้งสังคม ... -
การประเมินประสิทธิภาพของโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน ในเครือข่ายโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ภูมิหลังและเหตุผล: โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ดำเนินโครงการลดความแออัดและลดระยะเวลารอคอยการรับยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทุกสิทธิการรักษาให้ไปรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน ตามรูปแบบที่ 1 คือโรงพยาบาลจัดซื้อและจัดยาสำหร ... -
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566: ระยะที่ 1 การประเมินสัญญาณเตือนของผลกระทบต่อสถานะสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)การวิจัยแบบผสมวิธีนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาสัญญาณเตือนการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้น ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดผลกระทบทางสุขภาพที่เชื่อมโยงจากการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ... -
การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสมระหว่างภาคชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชนในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติของบุคลากรสาธารณสุขต่อความร่วมมือและรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาแนวทางความร่วมมือที่เหมาะสมระหว่างชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชนในการบริหารจัดการสุขภาพระดับปฐมภูมิ โดยเป็นการวิจั ... -
การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับสิ่งแวดล้อมและนโยบายในประเทศไทย: การทบทวนเชิงวิเคราะห์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การมีกิจกรรมทางกายที่เพิ่มขึ้นก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เพียงลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากโรคไม่ติดต่อ แต่ยังส่งผลต่อการสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและเพิ่มคุณภาพชีวิต ... -
การแทรกแซงนโยบายด้านสาธารณสุขของประเทศไทยโดยอุตสาหกรรมอาหารผ่านหน่วยงานภาครัฐ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การแทรกแซงของภาคอุตสาหกรรม (industrial interference) เพื่อผลประโยชน์ของตน มีทั้งอย่างเปิดเผยและอย่างลับๆ ในหลายรูปแบบและหลายช่องทาง ทั้งผ่านนักการเมืองระดับสูง สื่อสาธารณะและสถาบันการศึกษา ตลอดจนการติดต่อโดยตรงกับผู้ปฏิบ ... -
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านกฎหมายเพื่อขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนวัยทำงาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)โรคไม่ติดต่อเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรวัยทำงาน การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการนับเป็นช่องทางสำคัญที่จะสามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ จึงจำเป็นต้องหาวิธีส่งเสริมให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ... -
ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอนาคต
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของประเทศไทย วิธีการศึกษาประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่ การเก็บข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิและการคาดการณ์ความต้องการกำลังคน ... -
ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมทางกายจากการเดินทางและลักษณะทางประชากรของประชาชนในภูมิภาคของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ประโยชน์ทางสุขภาพจากกิจกรรมทางกายสัมพันธ์กับการเดิน การใช้จักรยาน และการใช้ขนส่งสาธารณะ สถาบันการเดินและการจักรยานไทยได้ส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันในหลายจังหวัดตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2560 การศึกษานี้ ... -
ช่องว่างทางนโยบายในการควบคุมและป้องกันปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อในสถานที่ทำงานของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาช่องว่าง อุปสรรคและความท้าทายในการควบคุมและป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อในสถานที่ทำงานของประเทศไทย โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) การทบทวนเอกสารข้อแนะนำน ... -
ถ่ายโอนระบบสุขภาพกับรักษาทุกที่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ฉบับเริ่มต้นปี พ.ศ. 2567 เสนอบทความการกระจายอำนาจถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และระบบสุขภาพปฐมภูมิ และขณะเดียวกับที่บรรยากาศนโยบายรัฐกำลังขับเคลื่อนนโยบายยกระดับบัตรทอง บัตรประชาชน ... -
ทฤษฎีและกรอบแนวคิดของการวิจัยเพื่อนำนโยบายสาธารณสุขไปสู่การปฏิบัติ: การวิจัยอย่างเป็นระบบเพื่อค้นหากลยุทธ์การปฏิบัติตามนโยบายที่มีประสิทธิภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)การนำสิ่งที่กำหนดไว้ในนโยบายไปปฏิบัติ ต้องการองค์ความรู้ที่แตกต่างไปจากการพัฒนานโยบาย ดังนั้น จึงต้องมีการวิจัยการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (implementation research: IR) เพื่อพัฒนาวิธีการหรือกลยุทธ์ในการนำนโยบายไปปฏิบัติให ... -
บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)การถ่ายโอนภารกิจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดส่งผลกระทบต่อบทบาทหน้าที่ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทที่พึงประสงค์ของสำนัก ... -
ประเด็นเชิงนโยบาย การวิจัยที่สำคัญเร่งด่วนและข้อเสนอแนะเบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายกัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ภูมิหลังและเหตุผล: ประเทศไทยมีระบบกัญชาทางการแพทย์เป็นครั้งแรกที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำถามเชิงนโยบายและวิจัยที่สำคัญเพื่อการติดตามและประเมินผลนโยบายกัญชาทา ...