Browsing Articles by Subject "หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ"
Now showing items 1-18 of 18
-
กระบวนการทางนโยบายและความสำเร็จในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : กรณีการปลูกถ่ายตับในเด็กที่มีภาวะท่อน้ำดีตีบตัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)สิทธิประโยชน์บริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครอบคลุมบริการอย่างรอบด้าน อย่างไรก็ตาม มีบริการบางอย่างที่ไม่ครอบคลุม (negative list) ซึ่งการปลูกถ่ายอวัยวะเป็นหนึ่งในรายการที่ไม่ครอบคลุมในสิทธิประโยชน์และ ... -
การตรวจสอบคุณภาพการให้รหัสโรคสำหรับการจ่ายชดเชยค่าบริการผู้ป่วยในของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12) -
การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพกับการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2552 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ให้มีความครอบคลุมมากขึ้นด้วยกระบวนการที่เป็นระบบ โปร่งใสและอยู่บนพื้นฐา ... -
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจระดับนโยบายเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของหลักธรรมาภิบาล พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอภิบาลระบบ ตามมาตรา 13(4) และ มาตรา 48(8) ... -
การรับรู้และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตบริการสุขภาพที่ 10
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตบริการสุขภาพที่ 10 สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ... -
การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างกองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิกับกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)กองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิตั้งขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2553 เพื่อให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขแก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ เนื่องจากผู้มีสิทธิในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ... -
การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างระบบประกันสังคมกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)แม้ว่าประเทศไทยจะมีระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ปัจจุบันยังมีระบบหลักประกันสุขภาพสำคัญ 3 ระบบใหญ่ ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำเพราะมีความเป็นมา การบริหารจัดการ อัตราและวิธีการจ่ายเงินให้สถานพยาบาล ... -
การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ... -
การใช้บริการรักษาพยาบาลของคนไทยที่ไม่มีหรือไม่ทราบสิทธิประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)การศึกษานี้วิเคราะห์การใช้บริการรักษาพยาบาลโรคทั่วไปของคนไทยในกลุ่มที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ หรือไม่ทราบสิทธิ รวมถึงไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากร เศรษฐฐานะ ... -
การใช้บริการรักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน และความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนองของประชากรเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)แม้การบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จะช่วยให้คนไทยทั้งประเทศเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น แต่ประชากรกรุงเทพฯ ก็ยังคงมีปัญหาเข้าถึงการรักษาพยาบาลมากที่สุด เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพของกรุงเทพฯ ... -
ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลและการประยุกต์ใช้ในบริบทประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (effective coverage) เป็นการต่อยอดการวัดความครอบคลุมของบริการสุขภาพที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาแต่เดิมโดยคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของบริการเหล่านั้นร่วมด้วย ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมา องค์การอนามัย ... -
ความเป็นธรรมด้านสุขภาพในผู้สูงอายุไทยภายใต้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)ภูมิหลังและเหตุผล: ความเป็นธรรมทางสุขภาพ คือ การปราศจากช่องว่างเชิงระบบในการจัดสรรทรัพยากร การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคเรื้อรังประเภทโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases: NCDs) หลายโรคร่วมกันได้สูง ... -
ความเห็นในเรื่อง บทบาท หน้าที่ และกิจกรรมต่อบริการปฐมภูมิของร้านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)แม้ว่าร้านยาจะเป็นที่ให้บริการสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชน แต่ร้านยาก็ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นหน่วยบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพใดๆ ภายหลังที่ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีความพยายามที่จะทดลองร้านยาคุณภาพเป็น ... -
ต้นทุนบริการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตของโรงพยาบาลภายใต้โครงการพัฒนาข้อเสนอ UCEP ด้านการเงินการคลัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนบริการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตของโรงพยาบาล ภายใต้โครงการพัฒนาข้อเสนอ Universal Coverage for Emergency Patients (UCEP) ด้านการเงินการคลัง โดยการศึกษาต้นทุนครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลค่าใช้ ... -
ปริมาณและมูลค่าการสั่งยาต้านแบคทีเรียแก่ผู้ป่วยนอกในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)ที่มา: การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่สมเหตุผลมีผลทำให้เกิดโรคติดเชื้อที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ เป็นปัญหาทั้งทางสุขภาพและทางเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านแบคทีเรีย (ซึ่งเป็นส่วนหนึ ... -
มุมมองของผู้ใช้บริการต่อบริการทางเภสัชกรรมหากมีการนำร้านยาคุณภาพเข้าในเครือข่ายระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)ร้านยาที่ได้รับการตรวจประเมินและรับรองเป็นร้านยาคุณภาพจากสภาเภสัชกรรมเป็นร้านยาที่ให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมและมีศักยภาพที่จะร่วมให้บริการแก่ประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้ แต่ปัจจุบันร้านยาคุณภาพยังไม่ ... -
ลักษณะความเหลื่อมล้ำในแต่ละมิติของลูกบาศก์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ข้อค้นพบจากข้อมูลสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2563
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (universal health coverage: UHC) แต่ยังมีความท้าทายที่สำคัญด้านความไม่เสมอภาคของผู้ใช้บริการระบบสาธารณสุข ได้แก่ ความคุ้มครองภาระค่าใช้จ่ายที่ไม่เท่าเทีย ... -
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 ประกอบด้วย จดหมายถึงบรรณาธิการ เรื่อง ช่องว่างในการควบคุมกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี และกลยุทธ์ของธุรกิจน้ำเมา และการใช้กัญช ...