Now showing items 1-20 of 36

    • การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโควิด-19 ในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; จิราพร วรวงศ์; Chiraporn Worawong; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; จุฬารัตน์ ห้าวหาญ; Chularat Howharn; ดิษฐพล ใจซื่อ; Dittaphol Jaisue; อภิรดี เจริญนุกูล; Apiradee Charoennukul; ทิพาวรรณ สมจิตร; Thipawan Somjit; ชลดา กิ่งมาลา; Chonlada Kingmala; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      เป็นการวิจัยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเพื่อสังเคราะห์ข้อเสน ...
    • การบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10 

      จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลต้องมีภาระงานเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะวิชาชีพพยาบาลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโดยตรง ทำให้ต้องมีการบริหารอัตรากำลังด้านการพยาบา ...
    • การบริหารจัดการภาวะวิกฤตในช่วงสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ระลอกแรก 

      ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      โควิด-19 (COVID-19) เป็นวิกฤตโรคระบาดครั้งใหญ่ของประเทศไทยและของโลก ส่งผลกระทบต่อสถานะสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกลไกและกระบวนการบริหารจัดการของรัฐที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์สำคัญระหว่าง ...
    • การบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับการให้อาหารแก่ทารกและเด็กเล็กในสังคมไทยระหว่างการแพร่ระบาดของโควิด-19 

      ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ปารีณา ศรีวนิชย์; Pareena Sriwanich; เอกชัย เพียรศรีวัชรา; Ekachai Piensriwatchara (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทารกและเด็กเล็กที่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่มีรายได้น้อยต้องประสบกับปัญหาการขาดอาหารโดยเฉพาะเด็กที่ไม่ได้กินนมแม่แต่ใช้นมผงทดแทน หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคมจำนวนมากได้ระดมทุนและจัดทำโคร ...
    • การประชุมสมัชชาอนามัยโลกแบบออนไลน์ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 

      โอริสา ซื่อสัตยาวงศ์; Orisa Sursattayawong; บรรลุ ศุภอักษร; Banlu Supaaksorn; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจึงจัดการประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 73 แบบออนไลน์เป็นครั้งแรก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทบทวนการจัดประชุมแบบออนไลน์แ ...
    • การประมาณต้นทุนการเจ็บป่วยโรคโควิด-19 สถาบันบำราศนราดูร ประเทศไทย 

      ชุมแพ สมบูรณ์; Chumphae Somboon; มธุรส ทิพยมงคลกุล; Mathuros Tipayamongkholgul; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ของโควิด-19 ตามระดับความรุนแรงของโรคและโรคประจำตัว ในมุมมองของผู้ให้บริการ (provider perspective) วิเคราะห์ต้นทุนด้วยวิธีจากล่างขึ้นบน (bottom-up approach) ...
    • การพัฒนาระบบการแพทย์ทางไกลเพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง บทเรียนจากการระบาดของ โควิด-19 

      ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; อินทิรา สุขรุ่งเรือง; Intira Sukrungreung; สราพร มัทยาท; Saraporn Mattayart; ภัทรพงศ์ อุดมพัฒน์; Patpong Udompat; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; พีระเดช สำรวมรัมย์; Pheeradetch Samroumram; เบญจพร รัชตารมย์; Benjaporn Rajataram; อนันต์ กนกศิลป์; Anant Kanoksilp (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ภูมิหลังและเหตุผล ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตถือได้ว่าเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19 จากนโยบายการเว้นระยะห่างทางสังคม ทำให้โรงพยาบาลต้องเลื่อนนัดผู้ป่วยออกไป ระเบียบวิธีศึกษา ...
    • การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลในภาวะที่มีการระบาดของ COVID-19: กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา 

      ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; ศักรินทร์ สุวรรณเวหา; Sakkarin Suwanwaha; ผาณิต หลีเจริญ; Phanit Leecharoen; จารุณี วาระหัส; Jarunee Warahut; อภิสิทธิ์ เชื้อคำเพ็ง; Apisit Chuakompeng; นัยนันต์ เตชะวณิช; Naiyanan Tejavanija; ดารารัตน์ ดำรงกุลชาติ; Dararat Dumrongkullachart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์ (emancipatory action research) ร่วมกับกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 ...
    • การสอบสวนโรคในภาวะการระบาดของ Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ดำเนินการอย่างไร กรณีศึกษาจากผู้ป่วย COVID-19 รายแรกจากยุโรปในประเทศไทย 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สุทธนันท์ สุทธชนะ; Suthanun Suthachana; ศุภณัฐ วงศานุพัทธ์; Suphanat Wongsanuphat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายกระบวนการสอบสวนโรค coronavirus disease 2019 (COVID-19) ผ่านกรณีศึกษาของผู้ป่วย COVID-19 ที่จังหวัดชลบุรี ซึ่งเป็นผู้ป่วยยืนยัน COVID-19 จากทวีปยุโรปรายแรกในประเทศไทย ผู้ป่วยเป็นชาวอิตา ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจายและการธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดใหญ่ของโควิด-19 

      อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; ทัศนีย์ เกริกกุลธร; Tassanee Krirkgulthorn; สุชาดา นิ้มวัฒนากุล; Suchada Nimwatanakul; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ; Panisara Songwatthanayuth; ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; วรวุฒิ แสงทอง; Worawut Saengthong; สืบตระกูล ตันตลานุกุล; Seubtrakul Tantalanukul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจายและการธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดใหญ่ของโควิด-19 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเช ...
    • การเปลี่ยนแปลงของอัตราการใส่หน้ากากอนามัยเมื่ออยู่นอกบ้านในช่วงโควิด-19: การวิเคราะห์จากภาพกล้องวงจรปิดโดยปัญญาประดิษฐ์ 

      ทยา กิติยากร; Taya Kitiyakara; สุภารี บุญมานันท์; Suparee Boonmanunt; รัตน์ชัยนันท์ ธรรมสุจริต; Ratchainant Thammasudjarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ภูมิหลัง: โควิด-19 ได้คร่าชีวิตมนุษย์จำนวนมากและได้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก การใส่หน้ากากเป็นวิธีป้องกันการแพร่ระบาดที่ได้รับการยอมรับทางการแพทย์ แต่อัตราการใส่หน้ากากในแต่ละประเทศกลับไม่เหมือนกัน เนื่องด้วยวัฒนธรรม ...
    • การเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุไทยในช่วงการระบาดของโควิด-19 

      สุภาพ อารีเอื้อ; Suparb Aree-Ue; ยุวดี สารบูรณ์; Yuwadee Saraboon; อินทิรา รูปสว่าง; Inthira Roopsawang; ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล; Teepatad Chintapanyakun; ศิริรัตน์ อินทรเกษม; Sirirat Intharakasem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ในปัจจุบันที่ประชากรทั่วโลกต้องเผชิญ การประกาศมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตในวิถีชีวิตใหม่ อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามกา ...
    • ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      Rothkopf ได้สร้างคำขึ้นมาใหม่จาก information สนธิกับ epidemic เป็น infodemic เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ปัจจัยแทรกซ้อนที่ควบคุมโรคได้ยาก โดยองค์การอนามัยโลกเตือนให้ระวัง infodemic ในยุคความปรกติใหม่ มีคำที่เกี่ยวข้องทั้ง ...
    • ความแตกต่างทางพันธุกรรม: สู่การแพทย์จีโนมิกส์ ถอดรหัสพันธุกรรมรักษาตรงเหตุ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      ปัจจุบันเทคโนโลยีในการถอดลำดับยีนหรือสารพันธุกรรมมีความก้าวหน้ามากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย ตลอดจนแพทย์ สามารถค้นพบการกลายพันธุ์ในยีนก่อโรคยีนใหม่ที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ หรือแม้กระทั่งโรคที่หาพบได้ยากในคนไทย ...
    • ต้นทุนรูปแบบบริการผู้ป่วยในโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประเทศไทย: กรณีศึกษาโรงพยาบาล 5 แห่ง 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; อภิรนันท์ พงจิตภักดิ์; Aphiranan Phongjetpuk; ธันวา ขัติยศ; Tanwa Khattiyod; ชัชชน ประเสริฐวรกุล; Chatchon Prasertworakul; ทยาภา ศรีศิริอนันต์; Thayapa Srisirianun; พงษ์ลัดดา หล่ำพู่; Pongladda Lampu; อรรศธร ศุกระชาต; Assatorn Sukrachat; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนรูปแบบบริการสุขภาพ (health service models) ผู้ป่วยโควิด-19 ที่โรงพยาบาลจัดไว้สำหรับรองรับการรักษาตามระดับอาการของผู้ป่วย โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองผู้ให้บริการ ใช้การวิเคราะห์ต้นท ...
    • ถอดบทเรียนการจัดการแข่งขันกีฬานานาชาติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 

      ปรีชาพล ปึ้งผลพูล; Preechapol Puengpholpool; ไอรินลดา วิศิษฎ์พรกุล; Irinlada Wisitphonkul; ณัฐทิชา หงษ์สามสิบหก; Natticha Hongsamsibhok; อนุวัฒน์ รัสมะโน; Anuwat Ratsamano; ปัทมาภรณ์ เครือหงษ์; Patthamaporn Khruahong; จริยา ดาหนองเป็ด; Chariya Danongped; นันนภัส กันตพัตชญานนท์; Nannaphat Kantaphatchayanon; ธีรพล ใจกล้า; Theerapon Jaikla; สุภนุช ทรงเจริญ; Supanuch Shongcharoen; จักรกฤษณ์ ปานแก้ว; Jakkit Pankaew; จันทร์จิรา เสนาพรม; Junjira Sanaprom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การถอดบทเรียนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงานด้วยวิธีการทบทวนเอกสารและศึกษาประสบการณ์ดำเนินงานจากเรื่องเล่าของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เต็มใจให้ข้อมูล จำนวน 50 คน ผ่านการสัม ...
    • บทบาทของเครือข่ายปฐมภูมิในการคัดกรองและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโควิด-19 ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      วิไล อุดมพิทยาสรรพ์; Wilai Udompittayason; ปรียนุช ชัยกองเกียรติ; Preeyanuch Chaikongkiat; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง; Doungjai Plianbumroong; อัจฉรา มุสิกวัณณ์; Atchara Musigawan; ผุสนีย์ แก้วมณีย์; Pootsanee Kaewmanee; เขมพัทธ์ ขจรกิตติยา; Khemmapat Kajonkittiya; พิชญ์ชญานิษฐ์ เรืองเริงกุลฤทธิ์; Pichayanit Ruangroengkulrit; นุศรา ดาวโรจน์; Nutsara Dowrote; อนุชิต คลังมั่น; Anuchit Klangman; คอลิด ครุนันท์; Kholid Karunan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods research) โดยใช้รูปแบบความสอดคล้องคู่ขนาน (convergent parallel design) เก็บข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานีและนราธิวาส วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทขอ ...
    • บทเรียนการจัดระบบบริการตติยภูมิในภาวะวิกฤติโควิด-19 พื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      ศิราณี อิ่มน้ำขาว; Siranee Imnamkhao; ภรรวษา จันทศิลป์; Bhanwasa Jantasin; ชัญญาวีร์ ไชยวงศ์; Chanyawee Chaiwong; ทรงสุดา หมื่นไธสง; Songsuda Muenthaisong; จงลักษณ์ ทวีแก้ว; Chonglak Taveekaew; ณัฐวุฒิ สุริยะ; Natthawut Suriya; วรนาถ พรหมศวร; Woranart Promsuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การวิจัยผสานวิธีครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา บทเรียนการจัดระบบบริการตติยภูมิในภาวะวิกฤติโควิด-19 พื้นที่ 4 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้กรอบ health-care capacity and utilization และ six building blocks ...
    • บทเรียนจากการประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลประจำปี พ.ศ. 2564 ผ่านมุมมองของทีมผู้จดบันทึกรายงานการประชุม 

      ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การประชุมวิชาการรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล (Prince Mahidol Award Conference: PMAC) เป็นการประชุมวิชาการนานาชาติประจำปีที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับจากทั่วโลกในฐานะเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนโยบายด้านสุขภา ...
    • บทเรียนจากการป้องกันและควบคุมการระบาดของโควิด-19: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองอ่างทอง 

      รุ่งทิวา มากอิ่ม; Rungtiwa Makim; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      โลกกำลังอยู่ในวิกฤตของการระบาดของโคโรนาไวรัสอุบัติใหม่ หรือโควิด-19 ตั้งแต่การค้นพบการติดเชื้อครั้งแรกที่เมืองหวู่ฮั่น ประเทศจีน ในปลายปี พ.ศ. 2562 โรคมีการระบาดอย่างรวดเร็วไปทั่วโลก การระบาดนี้นับว่ารุนแรงในระดับศตวรรษ ...