• การดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการนำมติสมัชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 1 ประเด็น 1.7 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการจัดการสุขภาพและทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมไปสู่การปฏิบัติ ...
    • การสำรวจการสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      วิไลลักษณ์ หมดมลทิน; Wilailuck Modmoltin; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามส่งทางไปรษณีย์ ในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึง ธันวาคม 2550 กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหารขององค์กรปกครองส ...
    • มุมมองผู้ป่วยเกี่ยวกับคุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในบริบทการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      พีรสิชฌ์ สิทธิรัตน์; Peerasit Sitthirat; พิวัฒน์ ศุภวิทยา; Piwat Suppawittaya; ภูภิญโญ ลิมป์จันทรา; Phupinyo Limchantra; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjornchai; พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ์; Pongsakorn Atiksawedparit; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)
      การแพทย์ฉุกเฉินถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสุขภาพที่สามารถลดอัตราตายและผลกระทบจากการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้ป่วยที่มีการเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต อย่างไรก็ตาม การแพทย์ฉุกเฉินนั้นยังมีความท้าทายหลายประการ โดยเฉพาะในการเข้าถึงบริการ ...