Now showing items 381-400 of 1352

    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      – โครงการ Health Management and Financing Study Project (HMFS) สรุปแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารโรงพยาบาลของรัฐ เสนอระบบบริหารงานโรงพยาบาลอิสระ – ก้าวต่อไปบนเส้นทางสายคุณภาพ – 6 ปีที่สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข เปิดใจนพ.สมศักดิ์ ...
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541-11)
      – ชี้มาตรการต่อรองราคายา ประหยัดงบประมาณได้ 25% แต่ยังมีช่องให้ทุจริต เสนอสาธารณสุขเร่งปรับปรุงระบบบริหารเวชภัณฑ์ – ปัญหายาของประเทศไม่ได้มีเพียงการจัดซื้อ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสนับสนุน 5 ชุดโครงการวิจัยด้านยา ...
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541-10)
      - ความก้าวหน้าของ Health Management and Financing Study Project เสนอมาตรการการกระจายบุคลากรสาธารณสุข – สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขร่วมสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ พร้อมทีมวิจัย ...
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541-09)
      - วิเคราะห์ผลกระทบทางสังคมและสาธารณสุขจากวิกฤตเศรษฐกิจ แปรวิกฤตเป็นโอกาสเพื่อพัฒนาระบบใหม่ – ลอยตัวในน้ำให้ได้ ก่อนจะว่ายน้ำให้สวย –โครงการพัฒนาเครื่องมือควบคุมการปฏิบัติงานโรงพยาบาลรัฐ – สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสนับสนุน ...
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541-08)
      - สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขร่วมกับบริษัทแมเนจเมนท์ ไซน์ส ฟอร์ เฮลธ์ (Management Sciences for Health-MSH) กำหนดกรอบการศึกษา 4 ประเด็นหลัก วางแนวปฏิรูประบบสาธารณสุขเสนอกระทรวงสาธารณสุข – ศักยภาพใหม่เพื่อระบบสาธารณสุขไทย – ...
    • อยู่ดีดี 

      พลอย กษมา แย้มดี; ยศวดี สนธิไชย (ตาแสง Studio, 2559-01)
      วารสารอยู่ดีดี จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่เรื่องราวของการออกแบบเพื่อคนทุกคน (Universal Design : UD) ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อหาและตัวอย่างงานที่เกิดจากการแชร์ความรู้จากภาคีและเครือข่ายต่างๆ จากเวิร์คช็อฟ สุนทรยสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยน ...
    • การทบทวนวรรณกรรมการจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย 

      สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การวิจัยด้านสุขภาพมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน แต่ค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัยค่อนข้างสูงในขณะที่ทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด จึงจำเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการ รวมถึงการจัดลำดับความสำคัญของงานวิจัยด้ ...
    • เติมเต็มช่องว่างทางความรู้ เพื่อนำไปสู่ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ : ทางเลือกงานวิจัยด้านสุขภาพในอนาคต 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      โครงการจัดลำดับความสำคัญหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทยมีวัตถุประสงค์หลักที่จะพัฒนาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการวิจัยด้านสุขภาพเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้ระบบสุขภาพไทย ...
    • อาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อ คอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน Smartphone ในผู้หญิงอายุ 18-25 ปี 

      ภัทริยา อินทร์โท่โล่; Pattariya Intolo; ณัฐชยา สิรินิลกุล; Natchaya Sirininlakul; ณัฐริกานต์ ศักดิ์สนิท; Nattarikan Saksanit; พิชญา คงดนตรี; Pichaya Kongdontree; พิมพ์พิสุทธิ์ ธุวาทร; Phimpisut Thuwatorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ปัญหาสุขภาพจากการใช้ smartphone เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การป้องกันมีความสำคัญและเร่งด่วน วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือ เพื่อศึกษาอาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณคอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน ...
    • การจัดกลุ่มงานวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย: การทบทวนระบบจัดกลุ่มงานวิจัยสุขภาพใน 5 ประเทศ 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      งานวิจัยในสาขาใดๆ ก็ตามควรได้รับการจัดเก็บเป็นหมวดหมู่อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการงานวิจัยและการนำไปใช้ประโยชน์ของทั้งนักวิจัย หน่วยงานวิจัยและหน่วยงานให้ทุน รวมถึงประชาชน ปัจจุบันหน่วยงานให้ทุนในประเทศไทย ...
    • ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2576 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันได้รับผลกระทบจากปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นในการคาดการณ์อนาคตของประเทศเพื่อให้ทราบสถานการณ์สำคัญที่ต้องเผชิญในอนาคตและรับมือหรือใช้ประโยชน์จากปัจจัยเหล่านั้น ...
    • ผลของเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายต่อการคงอยู่และผลงานการให้บริการของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนเปรียบเทียบปี 2552 กับ ปี 2556 

      จารุวัฒน์ บุษราคัมรุหะ; Jaruwat Busarakamruha; สุณี วงศ์คงคาเทพ; Sunee Wongkongkathep (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      กระทรวงสาธารณสุขได้มีการแก้ไขปัญหาความขาดแคลนและการกระจายทันตแพทย์ โดยการจ่ายค่าตอบแทนในรูปแบบเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายตามระดับความยากลำบากของพื้นที่และระยะเวลาในการทำงาน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเบี้ยเลี้ย ...
    • ความชุกและปัจจัยทำนายความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 

      นีลนาถ เจ๊ะยอ; Neelanad Cheyoe (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การศึกษานี้เป็นการหาความชุกและปัจจัยทำนายความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งมารับบริการที่คลินิกเบาหวานโรงพยาบาลหนองจิก จังหวัดปัตตานี ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 จำนวน 95 ...
    • ต้นทุนการจัดบริการต่อหัวประชากรของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; พัชนี ธรรมวันนา; Patchanee Thamwanna; ดิชพงศ์ พงศ์ภัทรชัย; Dichapong Pongpattrachai; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; ถาวร สกุลพาณิชย์; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนต่อหัวประชากรสำหรับการจัดบริการระดับปฐมภูมิของโรงพยาบาลแม่ข่ายและหน่วยบริการปฐมภูมิที่เป็นเครือข่าย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลต้นทุนจากโรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ...
    • มองปฏิรูประบบสุขภาพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2559 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
    • บทบาทและทางเลือกที่เหมาะสมของกระทรวงสาธารณสุข ภายหลัง 10 ปี ของการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ 

      วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ระยะ 10 ปีที่ผ่านมานั้น กระทรวงสาธารณสุขได้ถ่ายโอน 7 ภารกิจและสถานีอนามัย (สอ.) กว่า 30 แห่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีทั้งที่ประสบผลสำเร็จและล้มเหลว กระทรวงสาธารณสุขควรจะทบทวนกระบวนการถ่า ...
    • ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี 

      พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพ์นิชา เทพวัลย์; Pimnicha Thepphawan (2559-09)
      การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ ตรงกันข้าม การมารับการรักษาช้าอาจจะนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรหรือเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ...
    • การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารโครงการและงบประมาณของหน่วยงานสาธารณสุขในเขตสุขภาพที่ 12 

      อนันต์ อัครสุวรรณกุล; Anan Akkharasuwankul; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; Pongthep Sutheravut; ธรรมศักดิ์ โคจรนา; Thammasak Kojonna (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม(Participatory Action Research)นี้ จัดทำขึ้นเพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาและประเมินผลระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารโครงการและงบประมาณ (Health information system for project and budget management, ...
    • ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการทำเหมืองทองคำแบบใหม่ 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; Chudchawal Juntarawijit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การทำเหมืองทองคำแบบใหม่ได้สร้างความกังวลให้แก่สาธารณชนในด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ บทความนี้จะนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการทำเหมืองทองคำแบบใหม่และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ ...
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541-07)
      - กำหนดขั้นตอนการสนับสนุนโครงการวิจัย เน้นบทบาทที่ปรึกษามุ่งพัฒนาระบบสนับสนุนการวิจัยระดับพื้นที่ – ไม่มีเวลาทำวิจัย อย่าให้คำตอบนี้เป็นอมตะ – ระบบการบริหารงานและการเงิน-เงื่อนไขสำคัญของการก้าวไปสู่โรงพยาบาลอิสระ ...