แสดงรายการ 1021-1040 จาก 1352

    • การพัฒนาคุณภาพการรักษาผู้ป่วยไตวายในประเทศไทย 

      อุษณา ลุวีระ (2539)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบปัญหาในการดูแลรักษาผู้ป่วยไตวายในประเทศไทย เพื่อนำไปสู่ความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาและช่วยเหลือผู้ป่วยต่อไป
    • เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยด้วยภาพในประเทศไทย: สถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางแก้ไข 

      สมใจ หวังศุภชาติ (2539)
      ประเทศไทยมีสถิติการใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในการตรวจวินิจฉัยด้วยภาพค่อนข้างมาก แต่ยังไม่มีการประเมินความเหมาะสมของข้อบ่งชี้ในการตรวจ ไม่มีการประเมินว่าเราใช้เทคโนโลยีในการวินิจฉัยเกินความจำเป็นหรือไม่ ทำให้รัฐหรือผู้ป่วยเสียค ...
    • การประเมินการใช้ยาในโรงพยาบาล 

      สุพรชัย กองพัฒนากูล (2539)
      ค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดกระบวนการติดตามประเมินความเหมาะสมของการใช้ยาในสถานพยาบาล โดยมีหลักการสำคัญคือ เปรียบเทียบการสั่งใช้ยาที่เกิดขึ้นจริง กับเกณฑ์การใช้ยาที่กำหนดไว้ โดยเป็นกระบวนการต่อเนื่อง ...
    • แนวคิดในการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย 

      รัชตะ รัชตะนาวิน (2539)
      เป้าหมายการลดอัตราคอพอกในเด็กนักเรียนให้เหลือไม่เกินร้อยละ 5 ภายในปลายปี 2539 ตามแผนการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน อาจบรรลุผลได้ แต่การกำจัดโรคขาดสารไอโอดีนให้หมดจากประเทศไทย อาจจำเป็นต้องมีการปรับแนวคิดและนโยบายบางจุด ...
    • เทคโนโลยีทางการแพทย์และการสาธารณสุข: บทเรียนบางด้านจากต่างประเทศ 

      ปฐม สวรรค์ปัญญาเลิศ (2539)
      เทคโนโลยีทางการแพทย์และการสาธารณสุข จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้ ต้องเกิดจากการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้องและเหมาะสม การพิจารณาเกี่ยวกับเทคโนโลยีนั้นจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายอย่าง ตั้งแต่ความปลอดภัย ผลการทำงาน ต้นทุน ...
      ป้ายกำกับ:
      ยอดนิยม
    • แนวทางการดูแลรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลสำหรับผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม 

      สมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ (2540)
      การดูแลรับรองมาตรฐานโรงพยาบาล (Accreditation) สำหรับผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม เป็นเรื่องที่เป็นความหวังใหม่ของผู้ประกันตนและสำนักงานประกันสังคมที่จะให้โรงพยาบาลและคลินิกเครือข่ายที่สมัครขึ้นทะเบียนไว้กับสำนักงานประ ...
    • การบริหารจัดการเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2539)
      การใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างเหมาะสม จำเป็นต้องตั้งคำถามว่า เทคโนโลยีที่จะใช้นั้นจะส่งผลกระทบอย่างไรต่อการดูแลผู้ป่วย ต่อผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยและสังคม ผลดีที่เพิ่มขึ้นนั้นคุ้มกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นหรือไม่ ...
    • การพัฒนาวิธีวินิจฉัยตามอาการและอุบัติการณ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ในอำเภอที่เลือกสรร จังหวัดขอนแก่น 

      อุทัย อุโฆษณาการ; ปราโมทย์ ทองกระจาย; จันทร์โท ศรีนา; เกรียงศักดิ์ กันต์พิทยา; คมกริช ทุ่งสะเดาทอง; สมพงษ์ จองชัย; สร้อย อนุสรณ์ธีระกุล; เอื้อมพร ทองกระจาย (2539)
      แนวคิดในการผนวกบริการทางด้านการรักษาและป้องกันโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งโรคเอดส์เข้าไปในโครงการบริการสุขภาพอนามัยสำหรับสตรีที่มีอยู่แล้ว ถือเป็นข้อเสนอแนะที่มีความสำคัญและเป็นไปได้อย่างยิ่งในเชิงนโยบายจากองค์การอนามัยโลก ...
    • ก้าวต่อไปของการศึกษาด้านสาธารณสุขไทย 

      Prawes Wasi; ประเวศ วะสี (2537)
      บทความนี้เรียบเรียงจากคำบรรยายในการประชุมสัมมนาประเมินผลโครงการประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษากับระบบบริการสาธารณสุข เพื่อการพัฒนากำลังคน และระบบบริการสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2536
    • ผู้หญิงกับการเจ็บป่วยเรื้อรัง 

      เรณู พุกบุญมี (2539)
      ปัญหาการเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้หญิงพบมากขึ้นตามอายุ และการที่ผู้หญิงมีอายุยืนกว่าผู้ชายทำให้ผู้หญิงเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมากกว่า แต่ภายใต้สังคม-วัฒนธรรมที่ผู้หญิงเป็นผู้ดูแลสุขภาพคนในครอบครัว เมื่อตนเองเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ...
    • มดลูก กบูร กับการใช้ยาของผู้หญิงชนบทอิสาน 

      ลือชัย ศรีเงินยวง (2539)
      ความเชื่อในวัฒนธรรมอิสานเรื่อง "กบูร" ได้เปิดช่องให้มีการแสวงประโยชน์จากความเชื่อดังกล่าว และนำไปสู่การให้ยาที่ไม่เหมาะสมอย่างสิ้นเปลือง โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะที่จะมีผลต่อสุขภาพในระยะยาว ทั้งในแง่การดื้อยาและผลข้างเคียง
      ป้ายกำกับ:
      ยอดนิยม
    • คนงานก่อสร้างหญิงอีสาน 

      ศิริพร จิรวัฒน์กุล (2539)
      อุบัติเหตุเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในชีวิตการทำงานของคนงานก่อสร้างหญิง และการทำงานแบกหามของหนักก็ก่อให้เกิดอาการผิดปกติในบางส่วนของร่างกายเป็นประจำ เช่น เจ็บปวดหน้าอก ท้องน้อย มดลูก ประจำเดือนมาไม่ปกติ ซึ่งส่วนใหญ่จะรักษาเ ...
    • การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และการยุติการตั้งครรภ์: ประเด็นท้าทายนโยบายการให้บริการของรัฐ 

      นภาภรณ์ หะวานนท์ (2539)
      ประมาณว่าในประเทศไทยมีการทำแท้งสูงถึง 200,000-300,000 รายต่อปี แต่ส่วนใหญ่ต้องใช้บริการจากสถานบริการที่ให้บริการไม่ถูกหลักการแพทย์ มีราคาสูง ขาดความรับผิดชอบ และยังเสี่ยงต่ออันตรายจากอาการแทรกซ้อน หรือแม้กระทั่งเสียชีวิต ...
    • การหมดระดูของผู้หญิงไทย 

      อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม (2539)
      สังคมไทยเคยมองการหมดระดูว่าเป็นธรรมชาติ ผู้หญิงไทยรับรู้การเข้าสู่ภาวะดังกล่าวด้วยความรู้สึกด้านบวก สัมพันธ์กับการให้คุณค่าเรื่องความแก่ ที่วัฒนธรรมไทยให้การเคารพยกย่องผู้สูงอายุซึ่งหมายถึงผู้มีความสุขุม มีศีลธรรม ...
    • ภาวะสุขภาพผู้หญิงไทยวัยหมดระดู 

      สุวิภา บุณยะโหตระ (2539)
      ผู้หญิงไทยส่วนใหญ่ ใช้เวลาถึงหนึ่งในสามของช่วงชีวิตในวัยหมดระดู ซึ่งฮอร์โมนเพศที่ลดต่ำลงมีผลต่อระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ประกอบกับวัยนี้ยังมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ...
    • ระบบการจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ในโครงการประกันสังคม 

      สมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ (2540)
      การจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ในโครงการประกันสังคมได้รับการพัฒนาระบบและการบริหารจัดการมาด้วยดี นับแต่เริ่มโครงการในปี พ.ศ. 2534 ด้วยย่างก้าวที่สุขุม มุ่งมั่น มั่นคง และคำนึงถึงความจำเป็น ความสะดวก ความเป็นธรรม คุณภาพและมาตร ...
    • ผู้หญิงกับการคุมกำเนิด 

      มัลลิกา มัติโก (2539)
      นโยบายประชากรและการวางแผนครอบครัวผ่านมาตรการการคุมกำเนิดที่ผ่านมา ได้ละเลยความจริงที่ว่าผู้หญิงมีสิทธิที่จะเลือกหรือไม่เลือก และสิทธิที่จะควบคุมร่างกายตัวเอง การให้บริการอนามัยเจริญพันธุ์อย่างกว้างขวางแก่ผู้หญิงวัยต่างๆ ...
    • ผู้หญิงกับสุขภาพ 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข (2539)
    • สถานการณ์สุขภาพผู้หญิงไทย 

      ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร (2539)
      สถานการณ์และประเด็นสุขภาพผู้หญิง มิใช่การมองถึงความเจ็บป่วยเพียงแง่มุมเดียว สถานะสุขภาพที่บ่งชี้ถึงระดับคุณภาพชีวิตของผู้หญิงในด้านต่างๆ ช่วงวัยต่างๆ จะเป็นกรอบใหม่ในการมองบริการสุขภาพก็ต้องพิจารณาความครอบคลุมทั้งในด้านป ...