แสดงรายการ 241-260 จาก 1352

    • สถานการณ์ ปัจจัยส่วนบุคคลและครัวเรือนที่มีความสัมพันธ์กับความพิการของเด็ก 

      รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; Saudamini Vishwanath Dabak; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      คนพิการส่วนใหญ่มีความยากลำบากในการดำเนินชีวิต โดยเฉพาะเด็กซึ่งมักจะต้องเผชิญกับการเลือกปฏิบัติและการจำกัดการเข้าถึงบริการทางสังคม แม้จะพบว่าความพิการในเด็กจะมีผลกระทบต่อพัฒนาการ ต่อครอบครัวและต่อเศรษฐกิจ แต่ข้อมูลที่สำคั ...
    • ความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 

      วีรชาติ ศรีจันทร์; Weerachat Srichan; พัชรี มั่นคง; Phatchari Mankong; ชาลีลักษม์ ทองประเสริฐ; Chaleelak Thongprasert; ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ; Tippawan Pongcharoen; อมรพันธ์ อัจจิมาพร; Amornpan Ajjimaporn; สืบพงษ์ กอวชิรพันธ์; Sueppong Gowachirapant (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร (physical activity questionnaire for pregnant and lactating women, PAQ-PL) โดยพัฒนาแบบสอบถ ...
    • การบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของสิบสององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย 

      ธีรพงษ์ คำพุฒ; Theerapong Khamput; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ธวัชชัย ทองบ่อ; Tawadchai Thongbo; เศวต เซี่ยงลี่; Sawed Seunglee; ธวัชชัย แคใหญ่; Tawatchai Keryai; วัชรินทร์ แสงสัมฤทธิ์ผล; Watcharin Sangsamritpol; มังกร พวงครามพันธุ์; Mungkorn Puangkrampun; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jiraporn Kamonrungsan; ปทุมรัตน์ สามารถ; Pathumrat Samart; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การส่งเสริมกิจกรรมทางกายต้องอาศัยความร่วมมือในการทำงานจากหลากหลายภาคส่วน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโครงสร้างการบริหารงานที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับประชาชนในพื้นที่ชุมชนของตน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึ ...
    • ค่าบริการวิชาชีพที่ให้บริการแก่ผู้ป่วยฉุกเฉินของสถานพยาบาลเอกชนภายใต้โครงการพัฒนาข้อเสนอ UCEP ด้านการเงินการคลัง 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      ค่าบริการวิชาชีพ (professional fee) เป็นหนึ่งในกลุ่มรายการที่กำหนดให้มีการเบิกจ่ายให้กับสถานพยาบาลที่ให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉิน ซึ่งที่ผ่านมาพบว่ามีมูลค่าเรียกเก็บรวมสูงกว่า 88 ล้านบาท สูงเป็นอันดับหนึ่งของมูลค่าเรียกเก็บใน ...
    • การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพกับการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; กุมารี พัชนี; Kumaree Patchanee; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2552 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ให้มีความครอบคลุมมากขึ้นด้วยกระบวนการที่เป็นระบบ โปร่งใสและอยู่บนพื้นฐา ...
    • นโยบายและกฎหมายแอลกอฮอล์ ในประเทศ CLMV 

      กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ฤชากร ไตรรัตนานุสรณ์; Ruechagorn Trairatananusorn; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ช่องว่างของมาตรการและกฎหมายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม (CLMV) ในการศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ยุทธศาสตร์ระดับโลกเพื่อลดการดื่มสุร ...
    • อุทกภัยในกรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554: ความท้าทายต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นความท้าทายที่สำคัญต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพไทยในการรับมือกับภาวะวิกฤติในครั้งนั้น การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาว่าระบบสา ...
    • การใช้กัญชาในทางการแพทย์กับการเปิดเสรีการใช้กัญชาเพื่อสันทนาการ 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      พัฒนาการด้านกฎหมายยาเสพติดที่สำคัญของไทยเกี่ยวกับการนำกัญชามาใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ก็คือ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2562 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้โดยเป็นการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อใ ...
    • ช่องว่างในการควบคุมกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรีและกลยุทธ์ของธุรกิจน้ำเมา 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      บทความกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี ของประเทศไทยและต่างประเทศ โดย นงนุช ใจชื่น และคณะ มีเนื้อหาน่าสนใจ แต่ยังขาดข้อมูลสำคัญ คือ ผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมจาการควบคุมเครื่องดื่มท ...
    • ความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      วรรณกรรมด้านความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพมีปรากฏมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังองค์การอนามัยโลกแพร่รายงานของคณะกรรมาธิการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ ประเทศสหราชอาณาจักรซึ่งมีระเบียบวิธีการอธิบายความไม่เป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ ...
    • ศึกษาวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพจากนายแพทย์พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      นายแพทย์พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข พัฒนาตนเองเป็นนักวิชาการด้านนโยบายและระบบสุขภาพ มีพื้นฐานตั้งแต่ตอนเป็นนักศึกษาแพทย์จนทำงานที่นับว่าได้คลุกอยู่กับการพัฒนาระบบสุขภาพอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะยุคพัฒนาความครอบคลุมของโครงสร้างระ ...
    • ยาปฏิชีวนะ: จากดินสู่ดิน 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การค้นพบเพนนิซิลลินของ Sir Alexander Fleming ที่โรงพยาบาลเซ็นต์แมรี่ กรุงลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1928 เป็นการเปิดศักราชใหม่ของยาปฏิชีวนะที่ช่วยชีวิตผู้คนจำนวนมากจากโรคติดเชื้อ Streptococcus, Staphylococcus, ไข้กาฬหลังแอ่น คอตีบ ...
    • เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      เนื้อหาในขอบเขตของเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพนั้นเข้มข้นขึ้นในระยะสิบปีมานี้ มีทั้งส่วนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจที่นำไปสู่ความสุขและสุขภาพ จากแนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมเชื่อว่า มนุษย์ไม่ได้ตัดสินใจอย่างรอบ ...
    • บริการสุขภาพจำเป็นแต่ไม่ได้รับการตอบสนองบ่งบอกนัยอะไร 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06)
      ความจำเป็นต่อบริการสุขภาพ (health care need) ที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (unmet) เริ่มปรากฏ เป็นตัวชี้วัดเปรียบเทียบระบบบริการสุขภาพระหว่างประเทศต่างๆ ในรายงานขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organisation for ...
    • คำถามวิจัยกำลังคนด้านสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การบริบาล (care) เป็นวิถีแสดงความห่วงใยที่ใช้แรงงานจากความรัก (labor of love) มีมิติที่ซับซ้อนในด้านสังคมวิทยา เป็นงานประจำที่ต้องทำซ้ำๆ ทุกวัน ด้วยมุมมองทางจริยธรรม ขณะเดียวกันก็ยังคงมีความไม่เป็นธรรมดำรงอยู่ทั้งในระดับ ...
    • คุณภาพในระบบสุขภาพตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน : บทบาทของการวิจัยระบบและนโยบายสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การพัฒนาหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการพัฒนาระบบสุขภาพตั้งแต่บริการปฐมภูมิให้มีคุณภาพ เป็นที่ไว้วางใจจากประชาชน ไม่ใช่ระบบสุขภาพต้นทุนต่ำ ต้องมีกำลังคนเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า ข้อเสนอแนะเชิงระบบของการทำให้ระบบสุขภาพมีคุณภาพม ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2561 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2561 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง เศรษฐศาสตร์การเมืองของการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ และนิพนธ์ต้นฉบับ 11 บทความ คือ 1) กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอล ...
    • ค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามหลักการจัดกลุ่มโรคผู้ป่วยนอกเพื่อการจ่ายเงินที่โรงพยาบาลบางบัวทอง 

      กิตติยา ชูโชติ; Kittiya Choochote; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยเบาหวานตามแนวคิดการจัดกลุ่มโรคเรื้อรังและวิเคราะห์ผลลัพธ์ทางคลินิกในการดูแลผู้ป่วย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง รวบรวมข้อมูลการรับบริการของผ ...
    • ประสิทธิผลของบริการการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานี 

      ยศ วัชระคุปต์; Yos Vajragupta; วรรณภา คุณากรวงศ์; Wannapha Kunakornvong; พสิษฐ์ พัจนา; Phasith Phatchana; สาวิณี สุริยันรัตกร; Savinee Suriyanratakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุส่งผลให้ประเทศไทยต้องเตรียมพร้อมในด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในด้านการดูแลด้านสุขภาพ เนื่องจากผู้สูงอายุจะมีสุขภาพที่ถดถอยลง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้จัดสรรงบประมาณ ...
    • ทางเลือกการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของประเทศไทย 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; กนิษฐา มากมูล; Kanidta Makmool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิด สถานการณ์และวิธีการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของรัฐในประเด็นทางด้านการควบคุมยาสูบ การปกครองและข้อตกลงทางการค้าของประเทศต่างๆ (2) วิเคราะห์ฉากทัศน์ของบริบทด้านการปกครอง ...