แสดงรายการ 781-800 จาก 1352

    • การปรับการทำงานศิลปะเพื่อเด็กพิการ 

      จุลนี เทียนไทย; เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Chulanee Thianthai; Lertsiri Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
      การปรับศิลปะเพื่อบำบัดเด็กพิการมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กพิการมีความสะดวกที่เหมาะสมกับการทำงานศิลปะและสามารถประดิษฐ์ผลงานศิลปะสร้างสรรค์ด้วยตนเอง ทีมงานประกอบไปด้วย ครู นักกายภาพบำบัด นักอาชีวบำบัด บุคลากรทางการแพทย์ ...
    • ภาวะโลกร้อนและผลกระทบ 

      พูนพิภพ เกษมทรัพย์; Poonpipope Kasemsap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • การจัดตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • Global Warming and Malaria Update 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • ต้นฉบับบทความวิชาการ 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • ต้นไม้การตัดสินใจ 

      ครรชิต มาลัยวงศ์; Kanchit Malaivongs (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ต้นไม้การตัดสินใจ (decision tree) เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้วิเคราะห์เหตุการณ์ หรือสถานการณ์เพื่อการตัดสินใจได้อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว ต้นไม้การตัดสินใจมีลักษณะเป็นกราฟรูปต้นไม้ ซึ่งแสดงที่ตั้งต้นที่มีรากและแขนงต่างๆแตก ...
    • การอ่านสภาพจิตของผู้ต้องขังจากภาพวาด 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; นพวรรณ บัวทอง; ศิเรมอร บุญงาม; Lertsiri Bovornkitti; Nopphawan Buathong; Siremaon Bunngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพจิตของผู้ต้องขังในเรือนจำจากภาพวาดอิสระ กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ศึกษาได้แก่ ผู้ต้องโทษคุมขัง 30 ราย เป็นชาย 20 ราย และหญิง 10 ราย อายุ 24-57 ปี ซึ่งมีภูมิลำเนากระจายอยู่ทั่วประเทศ ...
    • การกระจายอำนาจด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเทศเม็กซิโก สวีเดน และนิวซีแลนด์ 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      หลายประเทศได้เลือกใช้กฎบัตรอ๊อตตาวาเป็นแม่แบบในการพัฒนานโยบายการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับทุกประเทศที่ศึกษานี้ได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชน ประเทศเม็กซิโกกำหนดองค์ประกอบในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับการประเมินการสร้า ...
    • ความเห็นในเรื่อง บทบาท หน้าที่ และกิจกรรมต่อบริการปฐมภูมิของร้านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; ธารินี อัครวิเชียร; ชาญชัย จารุภาชน์; ขนิษฐา เจิมขุนทด; พักตร์วิภา เจริญธรรม; Wiwat Arkaravichien; Tarinee Arkaravichien; Chanchai Jarupach; Khanitha Jermkuntood; Parkwipa Charoenthum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      แม้ว่าร้านยาจะเป็นที่ให้บริการสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชน แต่ร้านยาก็ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นหน่วยบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพใดๆ ภายหลังที่ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีความพยายามที่จะทดลองร้านยาคุณภาพเป็น ...
    • การกระจายอำนาจด้านสุขภาพในต่างประเทศ 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การกระจายอำนาจเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการพัฒนาระบบสุขภาพที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เช่น เพิ่มประสิทธิภาพทำให้มีการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้รวดเร็วและตรงจุดมากขึ้น ตรวจสอบง่ายขึ้น, Rondinelli ...
    • การวินิจฉัยภาวะไม่พึงประสงค์จากบริการทางการแพทย์เพื่อการจ่ายชดเชย 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; บุศราพร เกษสมบูรณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; อมร เปรมกมล; Pattapong Kessomboon; Nusaraporn Kessomboon; Supasit Pannarunothai; Amorn Premgamone (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      จากสภาพปัญหาภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและการฟ้องร้องที่เพิ่มมากขึ้น จึงมีการร่างพระราชบัญญัติกองทุนชดเชยความเสียหายจากบริการสุขภาพที่ออกแบบให้ครอบคลุมคนไทยทุกกลุ่ม แต่กองทุนใหม่นี้ควรมีกระบวนการวินิจฉัยซึ่งเ ...
    • การประยุกต์ขั้นตอนวิธีต้นไม้ตัดสินใจกับการวินิจฉัยโรคระบบการหายใจ : กรณีศึกษาที่โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา 

      ดิษฐพล มั่นธรรม; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Dittapol Muntham; Lily Ingsrisawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประยุกต์วิธีสืบค้นความรู้จากฐานข้อมูล โดยใช้เทคนิคขั้นตอนวิธีต้นไม้ตัดสินใจกับการวินิจฉัยโรคระบบการหายใจ ในการจำแนกผู้ป่วย 3 โรค คือ โรคติดเชื้อทางหายใจส่วนบนเฉียบพลัน โรคโพรงอากาศข้า ...
    • ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      เดชรัต สุขกำเนิด; รุ่งทิพย์ สุขกำเนิด; Decharut Sukkumnoed; Rungthip Sukkumnoed (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      โครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อกำหนดกรอบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล ...
    • ผลของนโยบายการเบิกจ่ายตรงในผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการข้าราชการต่อลักษณะการสั่งจ่ายยาของแพทย์ 

      ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล; ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์; Piyameth Dilokthornsakul; Nathorn Chaiyakunapruk; Piyarat Nimpitakpong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      เมื่อ พ.ศ. 2549 กรมบัญชีกลางได้เปลี่ยนแปลงระบบในการเบิกจ่ายเงินของผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการข้าราชการจากการสำรองจ่ายเงินไปก่อนโดยผู้ป่วย เป็นการเบิกจ่ายตรงระหว่างโรงพยาบาลกับกรมบัญชีกลาง แต่ยังไม่มีการศึกษาถึงผลกระทบการเปลี ...
    • ภาวะโลกร้อนกับเพศทารกแรกคลอดในประเทศไทย 

      อรวรรณ ศิริรัตน์พิริยะ; สมชัย บวรกิตติ; Orawan Siriratpiriya; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา (พ.ศ. 2449-2548) อุณหภูมิเฉลี่ยบนผิวโลกเพิ่มขึ้นสูงสุดในช่วง พ.ศ. 2538-2549 โดยปีที่ร้อนที่สุดคือ พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2548 คณะผู้วิจัยสนใจว่าภาวะโลกร้อนช่วงนี้เป็นปัจจัยอิงกำหนดเพศภาวะของคนไทยเพียงใด ...
    • กาฬโรค : โรคอุบัติซ้ำ 

      ไอยฤทธิ์ ไทยพิสุทธิกุล; Iyarit Thaipisuttkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      กาฬโรคเป็นโรคในสัตว์ตระกูลฟันแทะที่เกิดจากแบคทีเรีย Yersinia pestis โดยมีหมัดเป็นพาหะ โรคในมนุษย์นั้นเกิดจากการติดเชื้อโดยบังเอิญ จากการถูกหมัดกัดหรือจากการสัมผัสสัตว์ที่ติดเชื้อ ในอดีต กาฬโรคเป็นโรคที่มีความรุนแรงสูง ...
    • การแสดงออกทางใบหน้า 

      โสภา ชูพิกุลชัย ชปีลมันน์; เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      Facial expression โดยนัยศัพท์ต้องบัญญัติว่า “การแสดงออกทางใบหน้า” ซึ่งเป็นลักษณะทางกายภาพขององค์ประกอบใบหน้า (สีผิว, ริ้วรอย, คิ้ว, ดวงตา, จมูก, ปาก, ลิ้น) ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันเชิงพลวัต เพื่อสื่อสะท้อนควา ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของคนไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ 

      ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล; Darunee Paisanpanichkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ท่ามกลางการตีความเพื่อ (กีด)กันมนุษย์ไร้รัฐ (หรือไร้เลข 13 หลัก)/ไร้สัญชาติ ออกจากการเป็นผู้ทรงสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ใน พ.ศ.2551 โดยการสนับสนุนของสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย หรือ สวปก. ...
    • บทสรุปเพื่อการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 

      สุรจิต สุนทรธรรม; Surajit Sunthorntham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
    • การบริโภคเนื้อวัวกับภาวะโรคร้อน 

      สมชัย บวรกิตติ; สายชล เกตุษา; Somchai Bovornkitti; Saichol Ketsa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)