แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การวิจัยประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ใช้ยาและสารเสพติด

dc.contributor.authorนิภา กิมสูงเนินen_US
dc.date.accessioned2010-10-11T02:30:17Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:26:01Z
dc.date.available2010-10-11T02:30:17Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:26:01Z
dc.date.issued2553-05en_US
dc.identifier.otherhs1725en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3028en_US
dc.description.abstractการประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการที่สำคัญ ทำให้เชื่อมั่นได้ว่าการศึกษานั้นมีความเหมาะสมและนำไปสู่การควบคุมและประกันคุณภาพการศึกษา การวิจัยเชิงประเมินผลครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ใช้ยาและสารเสพติดในองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการดำเนินการ และด้านผลลัพธ์ของหลักสูตร ผู้วิจัยใช้รูปแบบซิป (CIPP model) ในการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามความคิดเห็นต่อหลักสูตรทั้งในส่วนของบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ของหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ใช้ยาและสารเสพติด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยแวดล้อมหรือบริบทของหลักสูตร พบว่าหลักสูตรมีความสอดคล้องกับความต้องการของสังคม วัตถุประสงค์ของหลักสูตรโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับหนึ่ง ยังขาดความครอบคลุมสมรรถนะในด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความสามารถในเรื่องความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และการให้บริการเชิงรุก 2. ปัจจัยนำเข้า ทั้งในส่วนของผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร เนื้อหาหลักสูตร สถานที่ ปัจจัยเกื้อหนุนต่างๆ โดยภาพรวมมีความเหมาะสม พบว่ายังมีปัญหาในเรื่องครูพี่เลี้ยงที่ยังขาดองค์ความรู้และแนวทางการปฏิบัติการพยาบาลที่ชัดเจน เนื้อหาหลักสูตร บางวิชาเนื้อหามากเมื่อเทียบกับเวลาและมีบางวิชาที่ซ้ำซ้อน สถานที่ฝึกปฏิบัติการพยาบาลทั้งภายในและภายนอกยังขาดการเตรียมความพร้อมด้านแนวทางการดำเนินงาน 3. กระบวนการดำเนินการโดยรวมและรายด้าน มีความเหมาะสม พบปัญหาในเรื่องการบริหารจัดการหลักสูตรขาดผู้ประสานงานกลางที่สามารถสื่อสารและตัดสินใจได้อย่างทันเวลา 4. ผลลัพธ์ ได้แก่ ระดับการรับรู้ ความรู้ ความสามารถ การประยุกต์ใช้ของผู้ผ่านการอบรมพบว่าทุกหมวดวิชาอยู่ในระดับมาก – มากที่สุด ยกเว้นวิชาที่อยู่ในระดับน้อย ได้แก่ วิชาการจัดการและการประสานเครือข่ายในการดูแลผู้ใช้ยาและสารเสพติด, วิชาการเลือกใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพผู้ใช้ยาและสารเสพติด วิชาการบำบัดฟื้นฟูทางจิตสังคมแก่ผู้ใช้ยาและสารเสพติดโดยกลุ่มบำบัด และชุมชนบำบัด วิชาประเด็นทางกฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งสถานพยาบาล ในส่วนคุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ผ่านการอบรมมีการประเมินตนเองอยู่ในระดับมาก ( = 3.17) ใกล้เคียงกับการรับรู้ของผู้บังคับบัญชา( = 3.18) เช่นเดียวกับการรับรู้ของผู้ร่วมงานที่อยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน ( = 3.26 ) ผลการศึกษานี้ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับความต้องการของสังคมต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.format.extent793459 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.publisherสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectยาเสพติดen_US
dc.subjectการประเมินหลักสูตรen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการวิจัยประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ใช้ยาและสารเสพติดen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoWY150 น622ก 2553en_US
dc.identifier.contactno50ข002en_US
dc.subject.keywordหลักสูตรen_US
dc.subject.keywordการพยาบาลen_US
dc.subject.keywordสารเสพติดen_US
.custom.citationนิภา กิมสูงเนิน. "การวิจัยประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ใช้ยาและสารเสพติด." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3028">http://hdl.handle.net/11228/3028</a>.
.custom.total_download149
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1725.pdf
ขนาด: 804.4Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย