Treatment Outcome among Astthma Patients in the Asthma Clinic, Kanthararom Hospital, Srisaket Province
dc.contributor.author | อดุลย์ โบจรัส | en_US |
dc.contributor.author | Adun Bojarus | en_US |
dc.contributor.author | เกษศิรินทร์ โพธิ์ทิพย์ | en_US |
dc.contributor.author | Ketsirin Potip | en_US |
dc.contributor.author | หัสยาภรณ์ ทองเสี่ยน | en_US |
dc.contributor.author | Husayaporn Tongsian | en_US |
dc.contributor.author | พรรัตน์ โพธิ์ศรี | en_US |
dc.contributor.author | Pornrat Posri | en_US |
dc.coverage.spatial | ศรีสะเกษ | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-10-02T06:57:34Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:55:15Z | |
dc.date.available | 2008-10-02T06:57:34Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:55:15Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), (ฉบับเสริม 3) : 550-556 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/304 | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้เป็นรายงานผลการรักษาผู้ป่วยโรคหืดที่โรงพยาบาลกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งใช้แนวการรักษาตามมาตรฐานจิน่า 2549 เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยโดยการสัมภาษณ์ และวัดอัตราการไหลอากาศหายใจออกสูงสุด (peak expiratory flow rate, PEFR) ด้วยมาตรการไหลออกสูงสุด ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2550· จาก ผู้ป่วย 128 ราย ตรวจรักษารวม 340 ครั้ง ผู้ป่วยเป็นหญิงร้อยละ 61.72 และชายร้อยละ 38.28 อายุเฉลี่ย 35 ปี ร้อยละ 30.47 เคยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในรอบ 1 ปีที่ผ่านไป และมีผู้ป่วยร้อยละ 76.57 ที่เกิดอาการหอบอย่างฉับพลันต้องใช้บริการพ่นยาที่ห้องฉุกเฉิน ผู้ป่วยที่ศึกษามีการใช้ยาสูดหายใจคอร์ทิโคสตีรอยด์ (ICS) ร้อยละ 35.15 ใช้ยาสตีรอยด์กินเพียงร้อยละ 5.45 ใช้ยาพ่น B2-agonist ร่วม ICS ร้อยละ 18.75 และใช้ ICS ร่วมกับ B2-agonist ฤทธิ์นาน (LABA) ร้อยละ 12.50 จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยโรคหืดต้องกลับมารักษาต่อโดยเฉลี่ย 2.65 ครั้ง/4 สัปดาห์ ได้ผลเป็นแบบควบคุมอาการได้หมดร้อยละ 12.94 ได้ผลควบคุมดีมาก ร้อยละ 30.58 และควบคุมได้ไม่ดี ร้อยละ 56.47 เนื่องจากผลการรักษาได้ไม่ดีมีไม่น้อย ผู้วิจัยจึงเสนอว่าโรงพยาบาลควรเพิ่มวิธีรักษาด้วยยาสูดหายใจคอร์ทิโคสตีรอยด์ให้มากขึ้น เพื่อลดการใช้บริการที่ห้องฉุกเฉิน ลดการเข้ารักษาในโรงพยาบาลและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น | th_TH |
dc.format.extent | 217095 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข | en_US |
dc.title | การรักษาผู้ป่วยโรคหืดที่คลินิกโรคหืด โรงพยาบาลกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ | en_US |
dc.title.alternative | Treatment Outcome among Astthma Patients in the Asthma Clinic, Kanthararom Hospital, Srisaket Province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | A study was conducted to determine the outcome of treatment following the GINA (Global Initiative for Asthma) guidelines 2006 on asthmatic patients visiting Kanthararom Hospital, Srisaket Province. The guidelines stressed the reduction of bronchial hyperresponsiveness and treatment of bronchospasm. A total of 128 asthmatic patients (having 340 visits) during the period January 1 to July 31, 2007 were interviewed and the peak expiratory flow rate (PEFR) measured by experienced nurses. The patients were then treated according to the guidelines. Of the total cases, 61.72 percent were female. The mean age of the first asthmatic attack was 35 years. The admission rate within one year of the interview was 30.47 percent and the incidence of acute severe symptoms (ER visit) was 76.57 percent. The drugs used in the patients comprised inhaled corticosteroid (ICS) 35.15 percent, oral corticosteroid 5.45 percent, B2-agonist combined with corticosteroids inhalant 18.75 percent, and ICS combined with long-acting B2-agonist 12.50 percent. These patients made visits to the asthma clinic an average of 2.65 times in four weeks. The results of treatment producing total asthma control were 12.94 percent, good control 30.58 percent, and poor control 56.47 percent. Since a significant number of treated cases remained in the poorly controlled category, it is reasonable to conclude that the increased practice of ICS may be effective in reducing ER visits and hospitalization. | en_US |
dc.subject.keyword | โรคหืด | en_US |
dc.subject.keyword | การรักษามาตรฐานจิน่า | en_US |
dc.subject.keyword | ยาสูดหายใจคอร์ทิโคสตีรอยด์ | en_US |
dc.subject.keyword | Asthma | en_US |
dc.subject.keyword | GINA Guidelines | en_US |
dc.subject.keyword | Inhaled Corticosteroids | en_US |
.custom.citation | อดุลย์ โบจรัส, Adun Bojarus, เกษศิรินทร์ โพธิ์ทิพย์, Ketsirin Potip, หัสยาภรณ์ ทองเสี่ยน, Husayaporn Tongsian, พรรัตน์ โพธิ์ศรี and Pornrat Posri. "การรักษาผู้ป่วยโรคหืดที่คลินิกโรคหืด โรงพยาบาลกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/304">http://hdl.handle.net/11228/304</a>. | |
.custom.total_download | 676 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 7 | |
.custom.downloaded_this_year | 82 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 12 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ