กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบทบาทองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพ
dc.contributor.author | หทัยชนก สุมาลี | en_US |
dc.contributor.author | ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ | en_US |
dc.contributor.author | จิรบูรณ์ โตสงวน | en_US |
dc.contributor.author | Hathaichanok Sumalee | en_EN |
dc.contributor.author | Siriwan Pitayarangsarit | en_EN |
dc.contributor.author | Jiraboon Tosanguan | en_EN |
dc.date.accessioned | 2010-11-09T08:47:24Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:14:59Z | |
dc.date.available | 2010-11-09T08:47:24Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:14:59Z | |
dc.date.issued | 2553-09 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 4,3(ก.ค.-ก.ย. 2553) : 398-408 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3056 | en_US |
dc.description.abstract | ในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพมีกฎหมายมาเกี่ยวข้องมากมายหลายฉบับ แม้แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ก็ยังได้บัญญัติให้รับรองสิทธิของบุคคลในการรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ รับรองสิทธิของบุคคลในการได้รับข้อมูลข่าวสารโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต รับรองสิทธิชุมชนในการคุ้มครองอันตรายต่อสุขภาพอันเนื่องมาจากสิ่งแวดล้อม กำหนดแนวนโยบายด้านการสาธารณสุขที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจโดยทั่วไปในการดูแลและจัดทำบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังได้ปรากฏคำว่า “การสร้างเสริมสุขภาพ” อยู่ในพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ.2544 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่2) พ.ศ.2551 แม้ว่าในส่วนของกฎหมายอื่นที่กำหนดบทบาทของท้องถิ่นในด้านสาธารณสุขยังไม่มีคำว่าการสร้างเสริมสุขภาพ แต่ระบุให้ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นเจ้าพนักงานท้องถิ่น และให้รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินั้นๆมีอำนาจออกคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่และผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นเจ้าพนักงานเพิ่มเติมได้ เช่น พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2523 พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ.2499 พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ซึ่งในพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 นั้น ส่งผลต่อการขยายบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพชัดเจนคือ เน้นหนักไปในเชิงการจัดการสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน แต่ยังไม่ครอบคลุมบทบาทตามยุทธวิธี 5 ประการของการสร้างเสริมสุขภาพในนิยามใหม่ แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่2 ได้กำหนดให้ถ่ายโอนภารกิจการบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันการเกิดโรค และการรักษาพยาบาลเบื้องต้นไปพร้อมกับสถานีอนามัย โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อมดำเนินการ ซึ่งจะทำให้ภาวการณ์นำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพล่าช้าออกไป เนื่องจากจะต้องผ่านกระบวนการหลายขั้นตอนในการรับโอนสถานีอนามัย ดังนั้นเพื่อให้บทบาทของท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม จึงสมควรกำหนดภารกิจให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการสร้างเสริมสุขภาพให้ชัดเจน | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ | en_US |
dc.title | กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบทบาทองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพ | en_US |
dc.title.alternative | Legislation and Health Promotion | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | In Thailand, legislation which concerns health promotion ranges from the National Health Act (B.E.2550), and the Supporting Fund for Health Promotion Act (B.E.2544) to the most important of all, the Thai Constitution, B.E. 2550. The constitution guarantees the rights of individuals on this issue as follows: (a) the right to public health and welfare services; (b) the right to access information on certain activities and/or programs which may affect their environment, health and quality of life; and (c) the right to be protected from environmental health hazards. Furthermore, the Constitution also states that health policies must emphasize health promotion, which would lead to sustainable health of the population, and that local government should be given the responsibility and authority in the management and provision of public services for the local people. Even though other related laws which concern the roles of local government in public health service provision may not have included health promotion as one of the responsibilities of local government, the responsibilities of local governments could be extended. Legislation such as the Public Health Act (B.E.2535) and the Tambon Council and Tambon Administrative Organization Act (B.E.2537) has given power to the ministers in charge to allocate extra responsibility to local government as allowed by those laws. The latter especially has given the tambon administrative organization the role of managing basic environmental control services. This is relevant to the function of health promotion. The Second Action Plan and Protocol for Decentralization to Local Government clearly states that health promotion responsibility, along with basic health services and disease control, are to be the responsibilities of the local government, with a certain level of “readiness.” These will be transferred together with funding, the existing staff and infrastructure (health centers). However, as local government needs to undergo assessment and other processes in the devolution of health centers, there is a need for specifying the roles of local government in health promotion in order to clarify the issue and to make the roles conform to Thailand’s health promotion strategy. | en_US |
dc.subject.keyword | การสร้างเสริมสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น | en_US |
dc.subject.keyword | กฎหมาย | en_US |
.custom.citation | หทัยชนก สุมาลี, ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์, จิรบูรณ์ โตสงวน, Hathaichanok Sumalee, Siriwan Pitayarangsarit and Jiraboon Tosanguan. "กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบทบาทองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพ." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3056">http://hdl.handle.net/11228/3056</a>. | |
.custom.total_download | 3913 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 65 | |
.custom.downloaded_this_year | 1144 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 157 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ