แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าและภาวะเสี่ยงการฆ่าตัวตายในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี

dc.contributor.authorจันทร์จุรี คงมีสุขen_US
dc.contributor.authorChunchuree Kongmeesuken_US
dc.contributor.authorKatsunori Kanekoen_US
dc.contributor.authorบุปผา ไตรวุฒฑานนท์en_US
dc.contributor.authorBuppha Triwuttanonen_US
dc.coverage.spatialชลบุรีen_US
dc.date.accessioned2008-10-02T06:58:03Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:16Z
dc.date.available2008-10-02T06:58:03Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:16Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), (ฉบับเสริม 3) : 563-570en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/306en_US
dc.description.abstractคณะผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าและภาวะเสี่ยงการฆ่าตัวตายของประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบสอบถาม ร่วมกับแบบประเมินภาวะซึมเศร้าและภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ศึกษาประชากรที่อยู่อาศัยในอำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี จำนวน 359 ราย ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างตามบ้านเลขที่ในทะเบียนราษฎร์ แล้ววิเคราะห์ข้อมูลหาปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาะซึมเศร้าและภาวะเสี่ยงการฆ่าตัวตาย โดยการทดสอบไฆ-สแควร์ และทำนายความน่าจะเป็นภาวะซึมเศร้าและภาวะเสี่ยงการฆ่าตัวตายใช้ probit regression analysis กลุ่มตัวอย่างเป็นชาย 129 ราย (ร้อยละ 35.93) และหญิง 230 ราย (ร้อยละ 64.06) อายุ 40-49 ปี ร้อยละ 34.26 ร้อยละ 64.35 มีวุฒิระดับประถมศึกษา ร้อยละ 59.33 มีรายได้น้อยกว่า 5,000 บาท/เดือน ร้อยละ 38.44 ของประชากรที่สำรวจมีโรคเรื้อรังประจำตัว การไปรับการรักษาที่สถานบริการสาธารณสุขพบว่า ร้อยละ 53.20 มีครอบครัวพาไป และร้อยละ 40.67) นั้นผู้ถูกสัมภาษณ์ไปเอง จากประชากรตัวอย่าง 359 ราย พบว่า 81 ราย (ร้อยละ 22.56) มีภาวะซึมเศร้า (depressive score มากกว่าหรือเท่ากับ 6) และ 48 ราย (ร้อยละ 13.37) มีภาวะเสี่ยงการฆ่าตัวตาย (suicidal score มากกว่าหรือเท่ากับ ๒) ปัจจัยที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อภาวะซึมเศร้า คือ การมีโรคเรื้อรังประจำตัวมีผลทำให้ภาวะซึมเศร้าเพิ่มขึ้น ส่วนการศึกษาที่สูงกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และการดูแลเมื่อเจ็บป่วยโดยครอบครัวหรือญาติพาไปรับบริการรักษามีผลลดภาวะซึมเศร้าลงได้ ส่วนปัจจัยที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อภาวะเสียงต่อการฆ่าตัวตาย คือ การมีโรคเรื้อรังประจำตัว ประชาชนที่มีโรคเรื้อรังประจำตัวจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญที่ต้องเฝ้าระวังและวางแผนดำเนินการแก้ปัญหาด้านสุขภาพจิต เพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายของประชาชนอำเภอเกาะสีชังต่อไปth_TH
dc.format.extent237534 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธาณสุขen_US
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าและภาวะเสี่ยงการฆ่าตัวตายในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรีen_US
dc.title.alternativeFactors Associated with Depression and Risk of Suicide among Residents Aged 35 Years and Older in Ko Sichang District, Chonburi Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeA study was conducted to determine the factors associated with depression and suicidal risk among 359 residents aged 35 years and older living in Ko Sichang district, Chonburi Province. The subjects were recruited by random sampling from the household registry. Information was obtained using the questionnaires prepared for the detection of depression and suicidal risk by the Department of Mental Health of Thailand’s Ministry of Public Health. Chi-square test and probit regression analysis were used to determine the factors associated with depression and suicidal risk. Of the 359 persons interviewed, 35.93 percent were male and 64.06 percent female; 34.26 percent of them were aged 40-49 years and 64.35 percent had an educational level of primary school; 59.33 percent had a monthly income of less than 5,000 baht; and 38.44 percent suffered a chronic disease. The care-givers who accompanied the study population to the health-care centers for treatment were mainly their family members (53.20%). Of the persons surveyed, 22.56 percent suffered depression (depressive score > 6) and 13.37 percent were at risk of suicide (suicidal score > 2). It was apparent that chronic illness was a significant factor associated with depression, while higher educational levels and having intimate care from family members or relatives such as accompanying them for health-care services seemed to reduce depression. Having a chronic disease was also a significant factor associated with an increase in suicidal risk. Further prevention or reduction of depression or suicidal risk among people with a chronic disease is essential. Family members and relatives may help this population at risk to reduce their depression.en_US
dc.subject.keywordภาวะซึมเศร้าen_US
dc.subject.keywordภาวะเสี่ยงการฆ่าตัวตายen_US
dc.subject.keywordโรคเรื้อรังen_US
dc.subject.keyworddepressionen_US
dc.subject.keywordSuicidal Risken_US
dc.subject.keywordChronic Diseaseen_US
.custom.citationจันทร์จุรี คงมีสุข, Chunchuree Kongmeesuk, Katsunori Kaneko, บุปผา ไตรวุฒฑานนท์ and Buppha Triwuttanon. "ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าและภาวะเสี่ยงการฆ่าตัวตายในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/306">http://hdl.handle.net/11228/306</a>.
.custom.total_download1346
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month12
.custom.downloaded_this_year171
.custom.downloaded_fiscal_year21

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 236.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย