แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ยุทธศาสตร์การจัดการภาวะน้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11

dc.contributor.authorสิรินทร์ยา พูลเกิดen_US
dc.contributor.authorทักษพล ธรรมรังสีen_US
dc.contributor.authorSirintrya Poolgirden_EN
dc.contributor.authorTaksapol Thamrungsien_EN
dc.date.accessioned2010-12-22T06:49:29Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:15:50Z
dc.date.available2010-12-22T06:49:29Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:15:50Z
dc.date.issued2553-12en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 4,4(ต.ค.-ธ.ค.2553) : 483-496en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3087en_US
dc.description.abstractภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาสุขภาพของโลก ความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประเทศไทย เพิ่มสูงขึ้นชัดเจนในประชากรชายและหญิง และปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่สำคัญ ด้วยความสำคัญของวิกฤตภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนต่อสังคมไทย ทำให้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนได้รับการรับรองจากคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติและถูกยกระดับเป็นวาระแห่งชาติที่ประชุมคณะรัฐมนตรีใน พ.ศ.2553 ในขณะเดียวกันสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกำลังดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการพัฒนาประเทศในช่วงเวลา 5 ปี งานวิจัยนี้จึงได้วิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์ทั้งสอง เพื่อเป็นข้อมูลนำเข้าสำหรับกระบวนการพัฒนาแผนปฏิบัติการการจัดการปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน และเป็นข้อมูลสะท้อนกลับไปยังกระบวนการร่างและรับรองแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติด้วย จากการศึกษาพบว่า เนื้อหาสาระหลักของแผนพัฒนาฯฉบับที่11 เน้นการจัดการปัญหาแบบตั้งรับโดยป้องกันในระดับปัจเจกสำคัญ ผ่านการส่งเสริมการเรียนรู้ในประชาชนทุกวัย ขณะที่ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนเน้นแนวทางการจัดการปัญหาเชิงรุกร่วมด้วย เช่น การใช้มาตรการทางภาษีและราคา การติดฉลากอาหารหรือโภชนาการ การควบคุมการตลาดอาหาร นอกจากนี้ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 บางยุทธศาสตร์เป็นอุปสรรคต่อการขับเคลื่อนการจัดการปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน เช่น การสนับสนุนการเปิดการค้าเสรี ที่เอื้อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงอาหารที่เป็นอันตรายมากขึ้น แนวทางที่เน้นการเยียวยาภายหลังการเกิดปัญหา ซึ่งมีรายงานถึงความจำเป็นต่อการดำเนินยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขควบคู่กันไปกับยุทธศาสตร์ทางการค้า และจากการศึกษาของต่างประเทศหลายชิ้นได้สนับสนุนให้มีการดำเนินการเชิงรับควบคู่ไปกับมาตรการเชิงรุกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการปัญหาสุขภาพจากภาวะน้ำหนักและโรคอ้วน เช่น การให้ความรู้ด้านสุขภาพกับอาหารหรือโภชนาการ ควบคู่กับมาตรการการติดฉลากอาหารหรือโภชนาการen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectโรคอ้วนen_US
dc.titleยุทธศาสตร์การจัดการภาวะน้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11en_US
dc.title.alternativeResolution on Managing Overweight and Obesity in the 11th National Economic and Social Development Planen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeObesity is a global epidemic affecting both the developed and developing worlds alike. Overweight and obesity has also been found to be on the rise among Thailand’s male and female population. More-over, they are considered as a leading health risk factor in the Thai population. Tackling overweight and obesity in Thailand has lead to the formation of the Resolution on Managing Overweight and Obesity, which has finally been endorsed by the National Health Commission, and was also approved by the Cabinet in 2010 as part of the Thai national agenda. Meanwhile, the Office of the National Economic and Social Development Board (NESDB) developed the 11th National Economic and Social Development Plan as a strategy for national development over the next five years. The aim of this study is to analyze the consistency between the Resolution and the 11th Five-Year Plan. The results of the study will be useful in formulating the National Action Plan for overweight and obesity, as well as in reflecting the drafting and approval process of the 11th Plan. Comparatively, the key approach for the development of the 11th Plan focuses on an individual-level defensive approach, such as the promotion of education among the Thai population. The Resolution focuses not only on a defensive approach, but also on an offensive approach, with a wide array of regulatory interventions, such as tax, pricing, nutrition and food labeling, and food marketing restrictions. The strategies of the 11th Plan, for example, trade liberalization, discourage regulatory interventions for curbing overweight and obesity. Unhealthy foods have increasing access to the market. Although preventive approaches that would affect trade agreements and trade liberalization are proposed, they would be implemented after these foods access markets. It seems clear from the literature that the international trade issues need to be considered in the context of public health, including improving diets and health education. The implementation of both defensive and offensive approaches, for example, the promotion of education through food and nutrition labeling interventions, may increase the effectiveness of efforts to improve healthy behaviors among the population.en_US
dc.subject.keywordภาวะน้ำหนักเกินen_US
dc.subject.keywordปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพen_US
.custom.citationสิรินทร์ยา พูลเกิด, ทักษพล ธรรมรังสี, Sirintrya Poolgird and Taksapol Thamrungsi. "ยุทธศาสตร์การจัดการภาวะน้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3087">http://hdl.handle.net/11228/3087</a>.
.custom.total_download1952
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month11
.custom.downloaded_this_year196
.custom.downloaded_fiscal_year18

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v4n4 ...
ขนาด: 335.8Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย