แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การลดจำนวนผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงและค่าใช้จ่ายด้วยวิธีสอนแสดงการดื่มสารละลายเกลือแร่ที่โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด

dc.contributor.authorธารา รัตนอำนวยศิริen_US
dc.contributor.authorThara Rattana-amnuaysirien_US
dc.contributor.authorนาตยา ศรีทองen_US
dc.contributor.authorNattaya Srithongen_US
dc.coverage.spatialร้อยเอ็ดen_US
dc.date.accessioned2008-10-02T06:58:58Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:20Z
dc.date.available2008-10-02T06:58:58Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:20Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 3) : 590-595en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/310en_US
dc.description.abstractจากการทำวิจัยในผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงในช่วงเดือนมิถุนายน 2548 - พฤษภาคม 2549 จำนวน 2,704 ราย พบว่ามีผู้ป่วยพียง 5 ราย (ร้อยละ 0.18) เท่านั้นที่จำเป็นต้องให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดำและรับไว้ในโรงพยาบาล ทำให้ตระหนักว่าหากนำวิธีมาตรฐานการบำบัดโรคอุจจาระร่วงมาใช้ กล่าวคือไม่ให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วยโดยไม่มีข้อบ่งชี้จะสามารถลดจำนวนผู้ป่วยในจาก 559 รายก่อนหน้าช่วงปีที่ทำวิจัย (มิ.ย. 2547 -พ.ค. 2548) เหลือเพียง 254 รายในช่วงปีที่ทำวิจัย (มิ.ย. 2548 - พ.ค. 2549) และลดค่าใช้จ่ายได้มาก ซึ่งเป็นผลจากการใช้วิธีสอนแสดงให้ผู้ป่วยรู้ถึงปริมาณสารละลายเกลือแร่ที่ดื่มให้พอเพียงจนเกิดความมั่นใจ สามารถนำไปปฏิบัติที่บ้านในการดูแลตนเองเมื่อเกิดอาการโรคอุจจาระร่วงth_TH
dc.format.extent157130 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการลดจำนวนผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงและค่าใช้จ่ายด้วยวิธีสอนแสดงการดื่มสารละลายเกลือแร่ที่โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ดen_US
dc.title.alternativeReduction in Hospitalization and Expense for Diarrhea Patients by Demonstration of Appropriate Self-administration of Oral Rehydration Salt Solutionen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeAmong people developing diarrhea, some take oral rehydration salt solution, but most did not know the proper amounts to drink. After drinking some amounts of a salt solution without recovering, they came to the hospital. Formerly, during the hospital visits, they never received information what amounts of the salt solution they should take. This study revealed that, with the practice of demonstration for the 2,704 diarrhea cases seen in the period from June 2005 to May 2006, only five patients (0.18%) needed intravenous fluid and only 254 patients were hospitalized, while in previous years (June 2004 - May 2005)the in-patients numbered 559 (Jun 2004-May 2005), dropping to 254 admitted cases in the following year (Jun 2005-May 2006); this saved a lot of expense for the hospital. It is necessary for the health-care provider to demonstrate how much of oral rehydration salt solution is needed when one has diarrhea.en_US
dc.subject.keywordโรคอุจจาระร่วงen_US
dc.subject.keywordสารละลายเกลือแร่en_US
dc.subject.keywordการดูแลตนเองen_US
dc.subject.keywordDiarrheaen_US
dc.subject.keywordOral Dehydration Salten_US
.custom.citationธารา รัตนอำนวยศิริ, Thara Rattana-amnuaysiri, นาตยา ศรีทอง and Nattaya Srithong. "การลดจำนวนผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงและค่าใช้จ่ายด้วยวิธีสอนแสดงการดื่มสารละลายเกลือแร่ที่โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/310">http://hdl.handle.net/11228/310</a>.
.custom.total_download850
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month11
.custom.downloaded_this_year141
.custom.downloaded_fiscal_year22

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 157.8Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย