แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การทำจิตบำบัดร่วมกับการฝังเข็มที่หูและกระตุ้นด้วยไฟฟ้าในผู้ป่วยมีปัญหาสัมพันธ์กับการดื่มแอลกอฮอล์

dc.contributor.authorอภิรัต กตัญญุตานนท์en_US
dc.contributor.authorApirat Katanyutanonen_US
dc.contributor.authorกนกศรี จาดเงินen_US
dc.contributor.authorGanoksri Jard-Ngoenen_US
dc.coverage.spatialฉะเชิงเทราen_US
dc.date.accessioned2008-10-02T06:59:37Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:17Z
dc.date.available2008-10-02T06:59:37Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:17Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), (ฉบับเสริม 3) : 608-614en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/313en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาย้อนหลังแบบกลุ่มเดียววัดซ้ำ มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินผลการรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาสัมพันธ์กับการดื่มแอลกอฮอล์ด้วยวิธีการทำจิตบำบัดเชิงพฤติกรรม-การรู้คิด ร่วมกับการฝังเข็มและกระตุ้นด้วยไฟฟ้า กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ดื่มแอลกอฮอล์มีปัญหาที่เข้ารับการบำบัดในโรงพยาบาลบางปะกง 25 คน มีคะแนนการตรวจสอบในหญิงเท่ากับ 6 และชายเท่ากับ 8 คะแนนขึ้นไป ผู้ป่วยได้รับการทำจิตบำบัดร่วมกับการฝังเข็มที่หูและกระตุ้นด้วยไฟฟ้าเป็นเวลา 1 ชั่วโมง และทำจิตบำบัดต่ออีก 1 ชั่วโมง เป็นเวลา 10 วัน ติดต่อกัน และอีก 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 1 เดือน และ ๓ เดือน เก็บข้อมูลการตรวจสอบหลังทดลองและติดตามผล วิเคราะห์ผลเป็นสถิติเชิงพรรณนา ผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดได้ครบการทดลองทั้ง 25 คน มีผู้ผ่านการบำบัดโดยไม่กลับไปบำบัดซ้ำ 19 คน (ร้อยละ 76) มีค่าคะแนนการตรวจสอบเท่ากับ 0 ในระยะติดตามผล มีผู้กลับไปบำบัดซ้ำ 6 คน (ร้อยละ 24) สรุปว่าการบำบัดด้วยวิธีจิตบำบัดเชิงพฤติกรรม-การรู้คิด ร่วมกับการฝังเข็มและกระตุ้นด้วยไฟฟ้า สามารถทำให้ผู้ป่วยหยุดดื่มแอลกอฮอล์ได้ และหยุดได้นานที่สุดเป็นเวลา 5 ปีth_TH
dc.format.extent224969 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการทำจิตบำบัดร่วมกับการฝังเข็มที่หูและกระตุ้นด้วยไฟฟ้าในผู้ป่วยมีปัญหาสัมพันธ์กับการดื่มแอลกอฮอล์en_US
dc.title.alternativeThe Effectiveness of Cognitive Behavior Therapy with Electrostimuli Ear Acupuncture for Hazardous Alcohol Drinkers at Bangprakong Hospital, Chachoengsao Province, 2007en_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis retrospective study was conducted to verify the results of treatment of 25 hazardous alcohol drinkers by a combination method of cognitive behavior therapy with electrostimuli ear acupuncture at Bangprakong Hospital; there is no known use of the method being employed previously. The 25 patients were studied by audit questionnaires: six scores in women and 8 scores in men. Treatment given by electrostimuli ear acupuncture for one hour and cognitive behavior therapy program for one hour daily on 10 successive days and follow-up four times at one week, two weeks, one and three months, respectively. The results were analyzed descriptively, showing that 19 of the patients could stop drinking (76 per cent), although six suffered a relapse (24 per cent). The longest cessasation was five years.en_US
dc.subject.keywordจิตบำบัดเชิงพฤติกรรมen_US
dc.subject.keywordการฝังเข็มen_US
dc.subject.keywordการดื่มแอลกอฮอล์en_US
dc.subject.keywordAcupunctureen_US
dc.subject.keywordCognitive Behavioral Therapyen_US
dc.subject.keywordHazardous Alcohol Drinkeren_US
.custom.citationอภิรัต กตัญญุตานนท์, Apirat Katanyutanon, กนกศรี จาดเงิน and Ganoksri Jard-Ngoen. "การทำจิตบำบัดร่วมกับการฝังเข็มที่หูและกระตุ้นด้วยไฟฟ้าในผู้ป่วยมีปัญหาสัมพันธ์กับการดื่มแอลกอฮอล์." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/313">http://hdl.handle.net/11228/313</a>.
.custom.total_download1116
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month16
.custom.downloaded_this_year186
.custom.downloaded_fiscal_year34

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 224.0Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย