Global Warming and Human Pathogens
dc.contributor.author | ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์ | en_US |
dc.contributor.author | Chanvit Treeputtarat | en_US |
dc.contributor.author | จันทพงษ์ วะสี | en_US |
dc.contributor.author | Chantaphong Wasi | en_US |
dc.date.accessioned | 2011-06-17T04:39:00Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:16:51Z | |
dc.date.available | 2011-06-17T04:39:00Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:16:51Z | |
dc.date.issued | 2554-03 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,1(ม.ค.-มี.ค.2554) : 18-24 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3153 | en_US |
dc.description.abstract | ภาวะโลกร้อนเกิดจากการทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศจากสารกลุ่มฆลอโรฟลูออโรคาร์บอนและเกิดจากภาวะเรือนกระจกจากการสะสมของแก๊สคาร์บอนไดออกไซค์ มีเธน และไนตรัสออกไซค์ การเปลี่ยนแปลงนี้พบในเวลา 150 ปีที่ผ่านมา และพบสูงขึ้นมากในระยะ 50 ปีหลัง ผลของภาวะโลกร้อนนอกจากทำให้ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น ยังทำให้เกิดเหตุการณ์ผิดปรกติ ฝนตกหนัก น้ำท่วม ดินถล่ม พายุรุนแรง ตามด้วยภาวะหนาวเย็นจัด แห้งแล้ง เป็นภาวะที่สภาพอากาศแปรปรวน เกิดภัยพิบัติทั่วโลก พบโรคติดเชื้อบางโรคอุบัติใหม่ บางโรคอุบัติซ้ำ ส่วนใหญ่เป็นโรคแมลงหรือสัว์แทะเป็นพาหะ และโรคที่มากับน้ำ ที่สำคัญคือ ไข้เลือดออกเต็งกี่ ไข้ปวดข้อชิคุนกุนญ่า ไข้สมองอักเสบ เวสไนล์ ไข้มาลาเรีย โรคไลม์ กาฬโรคอหิวาตกโรค, สัลโมเนลลา, แคมพัยโลแบคเตอร์, สภาพภูมิอากาศแปรปรวนและภัยพิบัติที่เกิดขึ้นนี้ นอกจากทำให้เกิดโรคติดเชื้อระบาดเพิ่มขึ้นแล้ว ยังมีผลต่อสุขภาพเกิดโรคระบบต่างๆ ที่ควรเฝ้าระวังเพื่อการเตรียมรับหาทางบรรเทาความรุนแรง แก้ไข และดูแลรักษา | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ภาวะโลกร้อนและผลกระทบต่อจุลชีพก่อโรคในคน | en_US |
dc.title.alternative | Global Warming and Human Pathogens | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Global temperatures have risen at a faster rate in the last 50 years than at any other time since records began to be kept in 1850. The hydrologic cycle will be altered, since warmer air can retain more moisture than cooler air. Some geographic areas will have more rainfall, some more drought and severe weather events including heat waves and storms. The term “climate change” is now preferred over “global warming.” Because of rising temperatures and changing rainfall patterns, increased burdens of vector-borne and zoonotic diseases as well as water-borne diseases have been recognized. Infections of dengue, chikungunya, malaria, West Nile virus, Lyme disease, plague, cholera, campylobacter and salmonella cause emerging and re-emerging diseases. It is clear that climate change endangers human health and that good systems for surveillance and preparedness are needed | en_US |
dc.subject.keyword | ภาวะโลกร้อน | en_US |
dc.subject.keyword | จุลชีพ | en_US |
dc.subject.keyword | ปรากฏการณ์เรือนกระจก | en_US |
dc.subject.keyword | โรคอุบัติใหม่ | en_US |
dc.subject.keyword | โรคอุบัติซ้ำ | en_US |
dc.subject.keyword | Re-emerging Diseases | en_US |
dc.subject.keyword | Emerging Diseases | en_US |
dc.subject.keyword | Global Warming | en_US |
dc.subject.keyword | Greenhouse Effect | en_US |
dc.subject.keyword | Climate Change | en_US |
.custom.citation | ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์, Chanvit Treeputtarat, จันทพงษ์ วะสี and Chantaphong Wasi. "ภาวะโลกร้อนและผลกระทบต่อจุลชีพก่อโรคในคน." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3153">http://hdl.handle.net/11228/3153</a>. | |
.custom.total_download | 7626 | |
.custom.downloaded_today | 7 | |
.custom.downloaded_this_month | 202 | |
.custom.downloaded_this_year | 2733 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 516 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ