แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขให้แก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ : ความสำเร็จอีกขั้นของระบบหลักประกันสุขภาพไทย

dc.contributor.authorพงศธร พอกเพิ่มดีen_US
dc.contributor.authorPongsadhorn Pokpermdeeen_US
dc.date.accessioned2011-06-17T10:21:12Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:17:07Z
dc.date.available2011-06-17T10:21:12Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:17:07Z
dc.date.issued2554-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,1(ม.ค.-มี.ค.2554) : 85-98en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3160en_US
dc.description.abstractถึงแม้ประเทศไทยจะได้ขยายหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนแล้ว ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ยังไม่สามารถครอบคลุมคนไทยทุกคนได้จริง เพราะการตีความผู้มีสิทธิในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตีความเฉพาะผู้มีสัญชาติไทยเท่านั้น ทำให้มีบุคคลที่ยังมีปัญหาสถานะและสิทธิที่อยู่อาศัยในประเทศไทย ยังไม่ได้รับหลักประกันสุขภาพ เนื่องจากนโยบายเรื่องนี้มีความซับซ้อนและเกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ ที่สำคัญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้ที่ตัดสินใจยังขาดความเข้าใจที่ถูกต้อง ทำให้ต้องใช้เวลากว่า 5 ปี ในการผลักดันเรื่องนี้ ล่าสุดผู้เกี่ยวข้องได้ใช้ทฤษฎีสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา เพื่อเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ 3 ด้าน ได้แก่ (1) การสร้างองค์ความรู้ (2) การขับเคลื่อนสังคม และ (3) การเชื่อมต่อกับระดับนโยบาย จนในที่สุดเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ การให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขแก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ โดยมอบให้กระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้ดำเนินการ ถือได้ว่าเป็นความสำเร็จอีกขั้นของระบบประกันสุขภาพไทย อย่างไรก็ตามยังมีคำถามหลายประเด็น เช่น กระทรวงสาธารณสุขจะสามารถบริหารจัดการได้ดีเพียงใด เพราะไม่มีระบบบริหารจัดการเฉพาะ ขาดระบบสนับสนุนต่างๆ งบประมาณที่ได้รับไม่น่าจะเพียงพอ เนื่องด้วยงบประมาณที่ได้เสนอขอนั้นคำนวณมาจากการเฉลี่ยความเสี่ยงร่วมกับผู้มีสิทธิในโครงการหลักประกันสุขภาพ จำนวน 47 ล้านคน สิทธิประโยชน์ที่ได้รับอาจไม่เท่าเทียมกับผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ประเด็นเหล่านี้จึงเป็นสิ่งที่ท้าทายสำหรับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหลายว่าจะดำเนินการอย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุดth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขให้แก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ : ความสำเร็จอีกขั้นของระบบหลักประกันสุขภาพไทยen_US
dc.title.alternativeExpanding Health Care Coverage for People with Citizenship Problems (Stateless Minority): A Step Forward for Health Insurance in Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThailand achieved universal health insurance coverage for the entire Thai population in 2002. However, the health insurance system does not cover all people who live in the country because the National Health Security Act 2002 indicates only “Thai citizenship” for eligibility under the scheme. This has made it impossible for people with citizenship problems to get basic health care. It also caused financial problems for health care providers that have to provide essential care for the people and disease control in many areas. For five years (four health ministers), there were many attempts to push forward the provision of basic health care for people with citizenship problems. This policy was complicated, and concerned with national security. The lack of understanding of the institution concerned and the society at large are the main obstructions. In 2010, the National Health Security Office (NHSO) employed the Moving Mountains Triangle Theory which comprises three strategies: (1) knowledge generation; (2) social movement; and (3) political engagement to push forward the policy. On March 23, 2010, the Cabinet approved this policy and assigned the Ministry of Public Health (MoPH) to operate the scheme instead of NHSO. Although the policy has been approved, some important issues need to be considered. For instance, how well can MoPH manage when supporting systems are lacking? The budgets may not be enough because the capitation budget was calculated by sharing risks with a population of 47 million under the universal coverage (UC) scheme. The benefit packages also may not equal those under the UC scheme. Thus, these aspects are challenging issues for everyone who works on this project.en_US
dc.subject.keywordหลักประกันสุขภาพen_US
dc.subject.keywordคนไร้รัฐen_US
dc.subject.keywordคนไร้สัญชาติen_US
dc.subject.keywordสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขาen_US
.custom.citationพงศธร พอกเพิ่มดี and Pongsadhorn Pokpermdee. "การให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขให้แก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ : ความสำเร็จอีกขั้นของระบบหลักประกันสุขภาพไทย." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3160">http://hdl.handle.net/11228/3160</a>.
.custom.total_download2908
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month49
.custom.downloaded_this_year680
.custom.downloaded_fiscal_year133

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v5n1 ...
ขนาด: 556.4Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย