Show simple item record

Accuracy of the Test Result from the Blood Glucose Meter at Maesai Hospital, Chiang Rai Province

dc.contributor.authorศิริศักดิ์ นันทะen_US
dc.contributor.authorSirisak Nantaen_US
dc.contributor.authorไพบูลย์ ธรรมวิชัยพันธ์en_US
dc.contributor.authorPaiboon Thammavichipanen_US
dc.coverage.spatialเชียงรายen_US
dc.date.accessioned2008-10-02T07:00:19Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:33Z
dc.date.available2008-10-02T07:00:19Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:33Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), (ฉบับเสริม 3) : 753-760en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/316en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการศึกษาภาคตัดขวางแบบวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยที่มาตรวจรักษาที่คลินิกเบาหวานโรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดเชียงราย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 จำนวน 139 ราย เป็นหญิงร้อยละ 69.6 อายุเฉลี่ย 54.3 ± 12.5 ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดจากเครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือดแบบเจาะปลายนิ้วเทียบกับเครื่องตรวจแบบอ้างอิง โดยเก็บข้อมูลระดับน้ำตาลในเลือด เพศ และอายุ สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน สหสัมพันธ์สเปียร์แมน สถิติทดสอบวิลคอกซอนไซน์แรงค์ สถิติทดสอบทีจับคู่ และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยระดับน้ำตาลจากเครื่องตรวจทั้งสองแบบไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน เท่ากับ 0.96 ค่าพี < 0.001) พบความคลาดเคลื่อนของผลการวัดด้วยเครื่องเจาะปลายนิ้วมากขึ้นเมื่อระดับน้ำตาลสูงขึ้น จึงแยกการวิเคราะห์ออกเป็น 2 กรณี คือ กรณีที่ผลจากเจาะปลายนิ้วน้อยกว่า 300 มิลลิกรัม/เดซิลิตร 130 ราย ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าเฉลี่ยของระดับน้ำตาล (สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน เท่ากับ 0.95 ค่าพี <0.001) กรณีที่ผลจากเจาะปลายนิ้ว 300 มิลลิกรัม/เดซิลิตรขึ้นไปจากตัวอย่าง 8 ราย ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าเฉลี่ยของระดับน้ำตาล (สัมประสิทธิสหสัมพันธ์เพียร์สัน เท่ากับ 0.76 ค่าพี = 0.03) และแบบสมการทำนายค่าระดับน้ำตาลที่ถูกต้องจากเครื่องอ้างอิงเฉพาะในกรณีนี้คือ ระดับน้ำตาลจากเครื่องอ้างอิง = 15.9+ระดับน้ำตาลจากเครื่องเจาะปลายนิ้ว และความแตกต่างทางคลินิก (± ร้อยละ 20) ของระดับน้ำตาลที่วัดของทั้ง 2 กรณีมีค่าน้อยกว่าร้อยละ 5th_TH
dc.format.extent235542 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleระดับน้ำตาลในเลือดวัดด้วยเครื่องเจาะปลายนิ้ว โรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeAccuracy of the Test Result from the Blood Glucose Meter at Maesai Hospital, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis study was aimed at assessing the accuracy of the blood glucose meter currently in use in comparison with the reference test. A cross-sectional analytical study design was used. The sample population comprised diabetic patients from the diabetic clinic at Maesai Hospital, Chiang Rai Province during the month of September 2007. Blood glucose levels, sex, and age of the samples were collected. The statistical methods used were descriptive, Pearson’s correlation, Spearman’s rho correlation, Wilcoxon’s signed rank test, paired t-test, and univariate linear regression. The results of the study showed that, out of 139 patients, 69.6 percent were female, with the average age being 54.3 ± 12.5 years. It was found that the average blood glucose levels were not statistically significant. Spearman’s rho coefficient was 0.96 (p<0.001). Since the difference in the results from both tests was higher when the blood glucose level was higher, subgroup analysis was conducted by separating the blood glucose level into two groups: less than 300 mg/dL and 300 mg/dL or over. The results revealed that in the former group, the total number of samples was 130. The average of the blood glucose levels was not statistically significant. Spearman’s rho coefficient was 0.95 (p<0.001). The results of the analysis of the latter group showed that there were 8 patients whose average blood glucose levels were not statistically significant. Pearson’s correlation coefficient was 0.76 (p=0.03). The univariate linear regression model in this part was the blood glucose level from the reference test = 15.9+blood glucose level from the blood glucose meter. Moreover, the clinical differences (±20%) from both subgroups were less than 5 percent.en_US
dc.subject.keywordโรคเบาหวานen_US
dc.subject.keywordระดับน้ำตาลในเลือดen_US
dc.subject.keywordฺฺBlood Glucose Levelen_US
.custom.citationศิริศักดิ์ นันทะ, Sirisak Nanta, ไพบูลย์ ธรรมวิชัยพันธ์ and Paiboon Thammavichipan. "ระดับน้ำตาลในเลือดวัดด้วยเครื่องเจาะปลายนิ้ว โรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดเชียงราย." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/316">http://hdl.handle.net/11228/316</a>.
.custom.total_download2181
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month53
.custom.downloaded_this_year170
.custom.downloaded_fiscal_year333

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n1 ...
Size: 234.2Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record