แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐม

dc.contributor.authorวิวัฒน์ ถาวรวัฒนยงค์en_US
dc.contributor.authorจตุพร อโณทยานนท์en_US
dc.contributor.authorนิรมล เรืองสกุลen_US
dc.contributor.authorพัลลภ ศรีภิรมย์รักษ์en_US
dc.contributor.authorรินพัท ชมจันทร์en_US
dc.contributor.authorWiwat Thavornwattanayongen_US
dc.contributor.authorJatuporn Anothayanonen_US
dc.contributor.authorNiramol Reungsakulen_US
dc.contributor.authorPhanlop Sriphiromraken_US
dc.contributor.authorRinapat Chomjanen_US
dc.date.accessioned2011-08-03T03:30:58Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:17:53Z
dc.date.available2011-08-03T03:30:58Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:17:53Z
dc.date.issued2554-06en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,2(เม.ย.-มิ.ย.2554) : 187-194en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3248en_US
dc.description.abstractปัญหาการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุเป็นปัญหาสำคัญที่ได้รับความสนใจจากหลายประเทศทั่วโลกแต่ในประเทศไทยยังไม่มีการศึกษามากนัก การศึกษานี้ได้สำรวจการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุในตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐมโดยใช้เกณฑ์การใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุของวินิจและคณะ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยการสำรวจภาคตัดขวาง เก็บและบันทึกข้อมูลด้วยการเดินสำรวจ สอบถาม สัมภาษณ์ผู้สูงอายุ 118 คน เป็นเพศหญิงร้อยละ 72.90 มีอายุเฉลี่ย 72.63 ปี ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.25 ปี โรคประจำตัวที่พบมากคือความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 76.30) พบการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง 92 รายการ จากการใช้ยาทั้งหมด 421 รายการ คิดเป็นการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงเฉลี่ย 0.78 รายการ/คน ในจำนวนนี้ 79 รายการ (ร้อยละ 18.76 ของการใช้ยาทั้งหมด) เป็นกลุ่มการใช้ยาที่มีแนวโน้มทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์มากที่สุด รองลงมาคือกลุ่มการใช้ยาที่เกิดอันตรกิริยาของยากับโรค 11 รายการ และสุดท้ายคือกลุ่มการใช้ยาที่เกิดอันตรกิริยาของยากับยา 2 รายการ เมื่อวิเคราะห์ย่อยในแต่ละกลุ่มพบว่า กลุ่มยาความเสี่ยงสูงที่มีแนวโน้มทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุมีอยู่ 13 กลุ่มยา กลุ่มยาที่พบบ่อยคือ angiotensin converting enzyme inhibitors (Enalapril) 35 รายการ รองลงมาคือ non-steroidal anti-inflammatory drugs (aspirin, diclofenac, ibuprofen, mefenamic acid) 16 รายการ และในกลุ่มยาความเสี่ยงสูงที่การใช้ยาเกิดอันตรกิริยาของยากับโรค 11 รายการนั้น พบว่าเป็น hypertension/heart failure-NSAIDs 9 รายการ gout-hydrochlorothiazide (HCTZ) 1 รายการ asthma/COPD – benzodiazepines 1 รายการ และสุดท้ายกลุ่มยาความเสี่ยงสูงที่การใช้ยาเกิดอันตรกิริยาของยากับยา 2 รายการ พบว่าเป็น aspirin-NSAIDs 1 รายการ และdigoxin-hydrochlorothiazide 1 รายการ ผลจากการศึกษานี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเรื่องยาที่มีความเสี่ยงสูงที่พบบ่อยในชุมชนเพื่อลดการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงให้น้อยลงen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐมen_US
dc.title.alternativeHigh-risk Medication use in Thai Elderly Patients: Case Study in Wangtaku Subdistrict, Nakhon Pathomen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe high-risk medications used in the elderly is a pressing problem that is a concern in many countries around the world. However, in Thailand there is still lack of studies related to this issue. Therefore,this study was aimed at surveying the high-risk medications used in the elderly at Wang Taku Subdistrict, Nakhon Pathom based on the criteria for high-risk medications used in the elderly of Winit-Watjana W. et al. The data of this cross-sectional study were collected by surveying and interviewing the elderly. Of 118 elderly, 72.9 % were female. Average age was 72.63 ± 5.25 years. Most medical problems found were hypertension, (76.3%). Of 421 drug items, 92 items were high risk medication use or 0.78 item per patient. The findings revealed 79 drug items with potentials to cause adverse reactions; 11 drug items with drugdisease interactions and 2 drug items with drug-drug interaction. After analyzing each subgroup, angiotensin converting enzyme inhibitors (out of 34 drug items) was mostly found in causing adverse reaction and non-steroidal anti-inflammatory drugs (16 drug items) were subsequently found. In drug-disease interaction subgroup, hypertension/heart disease (9 items) were found to be the most, and the other 2 items were gout-hydrochlorothiazide (HCTZ) and asthma/ COPD-benzodiazepine. The last subgroup, drug-drug interaction, aspirin with NSAIDs and digoxin with HCTZ were found. Results of this study can be used to develop a guideline for advising and monitoring high-risk drug use.en_US
dc.subject.keywordผู้สูงอายุen_US
dc.subject.keywordการใช้ยาen_US
.custom.citationวิวัฒน์ ถาวรวัฒนยงค์, จตุพร อโณทยานนท์, นิรมล เรืองสกุล, พัลลภ ศรีภิรมย์รักษ์, รินพัท ชมจันทร์, Wiwat Thavornwattanayong, Jatuporn Anothayanon, Niramol Reungsakul, Phanlop Sriphiromrak and Rinapat Chomjan. "การใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐม." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3248">http://hdl.handle.net/11228/3248</a>.
.custom.total_download3248
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month38
.custom.downloaded_this_year605
.custom.downloaded_fiscal_year75

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v5n2 ...
ขนาด: 286.1Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย