การได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 กับการฟ้องร้องคดีแพ่ง
dc.contributor.author | บุญศักดิ์ หาญเทอดสิทธิ์ | en_US |
dc.contributor.author | Boonsak Hanterdsith | en_US |
dc.date.accessioned | 2011-08-03T03:45:01Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:17:56Z | |
dc.date.available | 2011-08-03T03:45:01Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:17:56Z | |
dc.date.issued | 2554-06 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,2(เม.ย.-มิ.ย.2554) : 205-215 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3250 | en_US |
dc.description.abstract | หลังจากพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มีผลบังคับใช้ จำนวนผู้ขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 มีมากขึ้นทุกปี ซึ่งยังเป็นที่สงสัยว่าอัตราการฟ้องร้องลดลงหรือไม่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาผลการได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นกับอัตราการฟ้องคดีแพ่งรวมทั้งผลกระทบอื่นๆ และศึกษาความเสียหายที่ป้องกันได้ เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาจากเอกสารการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2547-2553 ประกอบการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง ใช้สถิติความถี่ ร้อยละ และFisher's Exact Test ผลการศึกษาพบว่า มีคำร้องทั้งหมด 37 ราย เข้าเกณฑ์ 28 ราย ผู้เสียหายฟ้องคดีแพ่ง 2 ราย ในภาพรวมระดับประเทศมีผู้ร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นและฟ้องคดีแพ่งด้วย 43 ราย (ร้อยละ 0.93) อัตราการฟ้องร้องคดีแพ่งในผู้ที่ร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแต่ไม่ได้รับเงินเทียบกับผู้ที่ได้รับเงินในจังหวัดลำพูนไม่ต่างกัน (p-value = 1) แต่ในระดับประเทศนั้นต่างกัน (p-value = 0.031) โดยสรุป การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นในจังหวัดลำพูนไม่มีผลต่อการฟ้องร้องคดีแพ่ง แต่ในระดับประเทศมีผลทำให้อัตราการฟ้องร้องลดลง สถานพยาบาลควรทบทวนสาเหตุความเสียหายที่ป้องกันได้เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดซ้ำในอนาคต ซึ่งสาเหตุที่พบบ่อย คือ เรื่องการสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการกับผู้ป่วย และประสิทธิภาพการส่งต่อ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 กับการฟ้องร้องคดีแพ่ง | en_US |
dc.title.alternative | Preliminary financial assistance under section 41 and civil litigation | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Since the section 41 of the National Health Security Act B.E.2545 has been enforced, requests for the preliminary financial assistance under section 41 were increasing every year, but the civil litigation rate is undetermined. The main purposes of this descriptive research are to examine the relationship between preliminary assistance and the rate of civil litigation and to study preventable damage from medical errors. The author retrospectively reviewed all documents related to sub-committee meeting to decide the request for preliminary financial assistance between the year 2004 and 2010 and interviewed the relevant personals. Data were analyzed with frequency, percentage, and Fisher’s Exact Test. The results showed that 37 cases were included in the study, 28 cases were eligible for payment of preliminary assistance. Two cases in Lamphun and 43 cases (0.93%) in Thailand filed a civil lawsuit against the Ministry of Public Health. The rate of civil litigation in cases who did not receive money compared to those received in Lamphun were not different (p-value = 1), but different (p-value = 0.031) at the national level. In conclusion, the payment of preliminary assistance in Lamphun had no effect on civil litigation, but the filing rate significantly reduced at the national level owing to this measure. Health care providers should review the service process, which the most common causes were in the communication and the referral system, to prevent any damage that may occur repeatedly in the future. | en_US |
dc.subject.keyword | เงินช่วยเหลือ | en_US |
dc.subject.keyword | การฟ้องร้อง | en_US |
dc.subject.keyword | พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ | en_US |
.custom.citation | บุญศักดิ์ หาญเทอดสิทธิ์ and Boonsak Hanterdsith. "การได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 กับการฟ้องร้องคดีแพ่ง." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3250">http://hdl.handle.net/11228/3250</a>. | |
.custom.total_download | 4432 | |
.custom.downloaded_today | 2 | |
.custom.downloaded_this_month | 92 | |
.custom.downloaded_this_year | 1074 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 206 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ