Show simple item record

Hardship Area : Criteria and Classification

dc.contributor.authorขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทยen_US
dc.contributor.authorณิชากร ศิริกนกวิไลen_US
dc.contributor.authorพงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุขen_US
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์en_US
dc.contributor.authorพินิจ ฟ้าอำนวยผลen_US
dc.contributor.authorKwanpracha Chiangchaisakulthaien_EN
dc.contributor.authorNichakorn Sirikanokvilaien_EN
dc.contributor.authorPongpisut Jongudomsuken_EN
dc.contributor.authorSomsak Chunharasen_EN
dc.contributor.authorPinij Fahamnuaypolen_EN
dc.date.accessioned2011-12-01T06:36:45Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:15:29Z
dc.date.available2011-12-01T06:36:45Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:15:29Z
dc.date.issued2554-09en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 5,3 (ก.ค.-ก.ย. 2554) : 355-362en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3380en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดความกันดารของพื้นที่ระดับอำเภอ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการจ่ายค่าตอบแทน “เบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย” แก่บุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานข้อเสนอการปรับค่าตอบแทนบุคลากรสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการกระจายและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรสาธารณสุขในการบริการประชาชน ที่สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขเสนอต่อกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์การกำหนดพื้นที่กันดารดังกล่าวครอบคลุมประเด็นความยากลำบากในการเดินทาง สภาพความเป็นเมือง (city-life effect) และความเจริญในพื้นที่ ผลการศึกษาพบว่า การกำหนดความกันดารของพื้นที่ตามปัจจัยดังกล่าวตามเกณฑ์วัดที่กำหนด มีความสอดคล้องกับความเห็นของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดร้อยละ 69.8 แนวทางการกำหนดความกันดารของพื้นที่ที่เริ่มต้นด้วยการใช้ข้อมูลคะแนนความกันดารของพื้นที่ ยืนยันด้วยความเห็นของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดและผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข พบข้อจำกัดในการดำเนินงานที่น่าจะสามารถพัฒนาได้ในโอกาสต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleความกันดารของพื้นที่ : หลักเกณฑ์การพิจารณาen_US
dc.title.alternativeHardship Area : Criteria and Classificationen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis study was aimed at developing criteria and guidelines for identification and classification of hardship areas. This was part of a study on “Reform of Financial Incentives for Public Health Personnel” submitted to the Ministry of Public Health, Thailand. Criteria to identify hardship areas included transportation, city-life effect and economic development. It was found that, in classification of hardship areas using developed criteria, 69.8 percent corresponded with the opinions of the provincial chief medical officers. A guideline to classify hardship areas using hardship scores and confirmation by using opinions of the provincial chief medical officers and health inspectors involved some difficulties and limitations during implementation. There is a need to improve this methodological approach.en_US
dc.subject.keywordพื้นที่กันดารen_US
dc.subject.keywordหลักเกณฑ์การพิจารณาen_US
dc.subject.keywordค่าตอบแทนen_US
dc.subject.keywordHardship Areasen_US
dc.subject.keywordFinancial Incentiveen_US
.custom.citationขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย, ณิชากร ศิริกนกวิไล, พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข, สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์, พินิจ ฟ้าอำนวยผล, Kwanpracha Chiangchaisakulthai, Nichakorn Sirikanokvilai, Pongpisut Jongudomsuk, Somsak Chunharas and Pinij Fahamnuaypol. "ความกันดารของพื้นที่ : หลักเกณฑ์การพิจารณา." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3380">http://hdl.handle.net/11228/3380</a>.
.custom.total_download1002
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month8
.custom.downloaded_this_year144
.custom.downloaded_fiscal_year19

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v5n3 ...
Size: 285.0Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record